730 likes | 1.41k Views
กรมวิชาการเกษตร และ มาตรการอารักขาพืชใหม่ของประเทศไทย. อุดร อุณหวุฒิ. กลุ่มวิจัยการกักกันพืช สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. การสัมมนา เรื่อง อนุสัญญาอารักขาพืชระหว่างประเทศ ( IPPC) กับมาตรการอารักขาพืช ของประเทศไทย วันที่ 4 พฤษภาคม 2550 ณ โรงแรมรามาการ์เด้น กรุงเทพฯ.
E N D
กรมวิชาการเกษตร และ มาตรการอารักขาพืชใหม่ของประเทศไทย อุดร อุณหวุฒิ กลุ่มวิจัยการกักกันพืช สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร การสัมมนา เรื่อง อนุสัญญาอารักขาพืชระหว่างประเทศ (IPPC) กับมาตรการอารักขาพืช ของประเทศไทย วันที่ 4 พฤษภาคม 2550 ณ โรงแรมรามาการ์เด้น กรุงเทพฯ
หัวข้อนำเสนอ • กฎหมายที่เกี่ยวกับการควบคุมการนำเข้าพืช • แนวทางเก่าสำหรับการออกประกาศกระทรวง • ควบคุมการนำเข้าพืช • แนวทางใหม่สำหรับการออกประกาศกระทรวง • ควบคุมการนำเข้าพืช • ขั้นตอนการอนุญาตนำเข้าสิ่งต้องห้ามเพื่อการค้า
กฎหมายที่เกี่ยวกับการควบคุม การนำเข้าพืช
พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 • ให้ไว้ ณ วันที่ 13 มีนาคม 2507 มี 27 มาตรา • ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 81 ตอนที่ 23 ฉบับพิเศษ หน้า 1 เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2507 • มีผลบังคับใช้ในวันที่ 19 มิถุนายน 2507
พระราชบัญญัติกักพืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 • ให้ไว้ ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2542 มี 15 มาตรา • ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 39 ก วันที่ 18 พฤษภาคม 2542 • มีผลบังคับใช้ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2542
มาตรา 6 • เมื่อมีกรณีจำเป็นจะต้องป้องกันศัตรูพืชชนิดหนึ่งชนิดใด • มิให้ระบาดเข้ามาในราชอาณาจักร ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำ ของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนด ชื่อพืช ศัตรูพืช หรือพาหะชนิดใดเป็นสิ่งต้องห้ามหรือสิ่งกำกัดตามพระราชบัญญัตินี้ แล้วแต่กรณีและในประกาศนั้นจะระบุกำหนด ชื่อพืช ศัตรูพืช หรือพาหะ ชนิดใด จากแหล่งใด หรือจะกำหนดข้อยกเว้น หรือเงื่อนไขใดๆ ไว้ด้วยก็ได้
มาตรา 8 • ห้ามมิให้บุคคลใดนำเข้าหรือนำผ่านซึ่งสิ่งต้องห้ามเว้นแต่ได้รับอนุญาตจากอธิบดีและมีใบรับรองปลอดศัตรูพืชของเจ้าหน้าที่ของประเทศที่ส่งสิ่งต้องห้ามนั้น หรือหนังสือสำคัญอย่างอื่นอันเป็นที่เชื่อถือได้สำหรับประเทศที่ไม่มีการออกใบรับรองปลอดศัตรูพืชกำกับมาด้วย และในกรณีนำเข้านี้ อธิบดีจะอนุญาตได้เฉพาะเพื่อประโยชน์ในการทดลองหรือการวิจัยเท่านั้น
มาตรา 9 • ห้ามมิให้บุคคลใดนำเข้าหรือนำผ่านซึ่งสิ่งกำกัดเว้นแต่จะมีใบรับรองปลอดศัตรูพืชของเจ้าหน้าที่ของประเทศซึ่งส่งสิ่งกำกัดนั้นออก หรือหนังสือสำคัญอย่างอื่นอันเป็นที่เชื่อถือได้สำหรับประเทศที่ไม่มีการออกใบรับรองปลอดศัตรูพืชกำกับมาด้วย
มาตรา 11 • ผู้ใดนำเข้าหรือนำผ่านซึ่งสิ่งไม่ต้องห้าม ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามแบบที่กำหนดในกฎกระทรวง
พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 สิ่งต้องห้าม (Prohibited article) สิ่งกำกัด (Restricted article) สิ่งไม่ต้องห้าม (Unprohibited article)
แนวทางเก่าสำหรับการออก ประกาศกระทรวงควบคุมการนำเข้าพืช
พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ สิ่งต้องห้าม หมายความว่า พืช ศัตรูพืชและพาหะที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา สิ่งกำกัด หมายความว่า พืช ศัตรูพืชและพาหะที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา สิ่งไม่ต้องห้าม หมายความว่า พืชอย่างอื่นที่ไม่เป็นสิ่งต้องห้าม หรือสิ่งกำกัด
แนวทางการกำหนด สิ่งต้องห้าม สิ่งกำกัด และ สิ่งไม่ต้องห้าม แจ้งความกระทรวงเกษตร เรื่อง การประกาศใช้พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 (19 มิถุนายน 2507)
แจ้งความกระทรวงเกษตร เรื่อง การประกาศใช้พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 (19 มิถุนายน 2507) สิ่งต้องห้าม: เป็นพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ และเป็นที่ทราบโดยแน่ชัดว่า มีศัตรูพืชที่ร้ายแรงในแหล่งที่ระบุไว้ ฉะนั้น จะนำสิ่งต้องห้ามเข้ามาในราชอาณาจักรไม่ได้ เว้นแต่เฉพาะเพื่อประโยชน์ในการทดลองหรือการวิจัยเท่านั้น
องค์ประกอบของ สิ่งต้องห้าม เป็นพืชสำคัญทางเศรษฐกิจ ทราบโดยแน่ชัดว่ามีศัตรูพืชที่ร้ายแรง ในแหล่งที่ระบุ
แจ้งความกระทรวงเกษตร เรื่อง การประกาศใช้พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 (19 มิถุนายน 2507) สิ่งกำกัด: เป็นพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ หรืออาจจะมีความสำคัญทางเศรษฐกิจในอนาคต กับทั้งเป็นพาหะหรือเป็นพืชอาศัย(Alternate host)ของศัตรูพืชที่ร้ายแรงของพืชเศรษฐกิจของประเทศ ฉะนั้น จะนำเข้ามาในหรือนำผ่านราชอาณาจักรได้เฉพาะทางด่านตรวจพืชที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรได้ประกาศกำหนดไว้ และต้องมีใบรับรองปลอดศัตรูพืชกำกับมากับสิ่งกำกัดด้วย
องค์ประกอบของ สิ่งกำกัด เป็นพืชสำคัญทางเศรษฐกิจหรืออาจจะมีความสำคัญทางเศรษฐกิจในอนาคต เป็นพาหะหรือพืชอาศัยของศัตรูพืชที่ร้ายแรงของพืชเศรษฐกิจ
แจ้งความกระทรวงเกษตร เรื่อง การประกาศใช้พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 (19 มิถุนายน 2507) สิ่งไม่ต้องห้าม: เป็นพืชที่ไม่เป็นสิ่งต้องห้ามหรือสิ่งกำกัด ซึ่งยังไม่มีความสำคัญในทางเศรษฐกิจของประเทศ และไม่มีศัตรูพืชที่ร้ายแรงในต่างประเทศ แต่อาจจะเป็นพาหะหรือเป็นพืชอาศัย (Alternate host)ของศัตรูพืช จึงจำเป็นต้องให้ผู้นำเข้าหรือนำผ่านราชอาณาจักรซึ่งสิ่งไม่ต้องห้ามแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ด่านศุลกากรหรือด่านตรวจพืชตามระเบียบ
องค์ประกอบของ สิ่งไม่ต้องห้าม เป็นพืชไม่สำคัญทางเศรษฐกิจ ไม่มีศัตรูพืชที่ร้ายแรงในต่างประเทศ
สิ่งต้องห้าม สิ่งกำกัด สิ่งไม่ต้องห้าม • พืชสำคัญทางเศรษฐกิจ • มีศัตรูพืชร้ายแรง • จากแหล่งที่กำหนด • พืชไม่สำคัญทางเศรษฐกิจ • ไม่มีศัตรูพืชร้ายแรง • พืชสำคัญทางเศรษฐกิจ • มีศัตรูพืชร้ายแรง
จะให้จัดอยู่ในกลุ่มใด ??? คำจำกัดความไม่ครอบคลุม พืชไม่สำคัญทางเศรษฐกิจ มีศัตรูพืชที่ร้ายแรง
ประกาศกระทรวง : พืช พาหะ เป็นสิ่งต้องห้าม ปี พ.ศ. 2507 - ปัจจุบัน : จำนวน 2 ฉบับ 1. ประกาศกระทรวงเกษตร (ฉบับที่ 6) เรื่อง กำหนดพืช ศัตรูพืชหรือพาหะ จากแหล่งที่กำหนดเป็นสิ่งต้องห้าม ข้อยกเว้นและเงื่อนไขตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2507 2. ประกาศกระทรวงเกษตร (ฉบับที่ 11) เรื่อง กำหนดพืช ศัตรูพืชหรือพาหะ จากแหล่งที่กำหนดเป็นสิ่งต้องห้าม ข้อยกเว้นและเงื่อนไขตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 ลงวันที่ 26 เมษายน 2514
สิ่งต้องห้าม (พืช พาหะ) พืช พาหะ 1. พืชสกุลโอไรซา (Oryza spp.) 2. พืชสกุลฮีเวีย (Hevea spp.) 3. พืชสกุลซิตรัส (Citrus spp.) 4. พืชสกุลฟอจูเนลลา (Fortunella spp.) 5. พืชสกุลพอนซิรัส (Poncilus spp.) 6. มะพร้าว (Cocos nucifera) 7. มันสำปะหลัง (Manihot esculenta) 8. พืชสกุลกอสซิปเปียม (Gossypium spp.) 1. น้ำยางสด 2. ยางก้อน 3. ยางเน่า 4. ขี้ยาง 5. ดิน 6. ปุ๋ยอินทรีย์
ประกาศกระทรวง : สิ่งกำกัด ปี พ.ศ. 2507 - ปัจจุบัน : จำนวน 2 ฉบับ 1. ประกาศกระทรวงเกษตร เรื่อง กำหนดพืช หรือพาหะ เป็นสิ่งกำกัด ข้อยกเว้นและเงื่อนไขตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 19 มิถุนายน 2507 2. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดพืช หรือพาหะ เป็นสิ่งกำกัด ข้อยกเว้นและเงื่อนไขตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 ฉบับที่ 2 (สิ่งกำกัด) พ.ศ. 2529 ลงวันที่ 29 สิงหาคม 2529
สิ่งกำกัด (พืช พาหะ) 1. พืชสกุลโอไรซา (Oryza spp.) 2. พืชสกุลฮีเวีย (Hevea spp.) 3. พืชสกุลซิตรัส (Citrus spp) 4. มะพร้าว5. มันสำปะหลัง 6. พืชสกุลซัคคารัม (Saccharum spp.) 7. พืชสกุลคอฟเฟีย (Coffea spp.) 8. มันเทศ 9. พืชสกุลกอสซิปเปียม (Gossypium spp.) 10. ยาสูบ 11. ข้าวโพด 12. โกโก้ 13. พืชสกุลมูซา (Musa spp.) 14. มันฝรั่ง 15. ถั่วลิสง 16. สับปะรด 17. พืชสกุลคาเมลเลีย (Camellia spp.) 18. ปาล์มน้ำมัน 19. มะเขือเทศ 20. มะละกอ 21. พืชสกุลอะเลอโรติส (Aleurites spp.) 22. เผือก 23. ข้าวสาลี 24. ถั่วเหลือง 25. ถั่วเขียว 26. ข้าวฟ่าง 27. พืชวงศ์กล้วยไม้ (Family Orchidaceae) * จากแหล่งนอกเหนือจากสิ่งต้องห้าม
รูปแบบประกาศกระทรวง กำหนดพืช/พาหะจากแหล่งที่กำหนดเป็นสิ่งต้องห้าม (ใช้บังคับในปัจจุบัน) พืช ศัตรูพืช พาหะ แหล่งที่กำหนด ข้อยกเว้น
ข้อสังเกต 1 : สิ่งต้องห้าม สิ่งกำกัด สิ่งไม่ต้องห้าม มีศัตรูพืชกักกันชนิดเดียวกัน พืชสกุลซิตรัส (Citrus spp.) อัฟริกา อเมริกากลาง อเมริกาใต้ ยุโรป ตะวันออกใกล้ ประเทศแถบทะเลเมติเตอร์เรเนียน สหรัฐอเมริกา อินเดีย ญี่ปุ่น ลังกา อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย
การนำเข้าผลส้มจากประเทศออสเตรเลียการนำเข้าผลส้มจากประเทศออสเตรเลีย แหล่งปลูกส้ม
Queensland fruit fly (Bactrocera tryoni) Mediterranean fruit fly (Ceratitis capitata)
การควบคุมการนำพืชเข้าจากออสเตรเลียการควบคุมการนำพืชเข้าจากออสเตรเลีย Mediterranean fruit fly (Ceratitis capitata) Queensland fruit fly (Bactrocera tryoni) สิ่งต้องห้าม สิ่งกำกัด สิ่งไม่ต้องห้าม แอปเปิ้ล สาลี แพร์ อโวกาโด องุ่น ฯลฯ กล้วย มะเขือเทศ มะละกอ ส้ม
การควบคุมการนำพืชเข้าจากออสเตรเลียการควบคุมการนำพืชเข้าจากออสเตรเลีย Mediterranean fruit fly (Ceratitis capitata) Queensland fruit fly (Bactrocera tryoni) สิ่งต้องห้าม สิ่งกำกัด สิ่งไม่ต้องห้าม ไม่ใช่พืชสำคัญทางเศรษฐกิจ แอปเปิ้ล สาลี แพร์ อโวกาโด องุ่น ฯลฯ กล้วย มะเขือเทศ มะละกอ ส้ม
ข้อสังเกต 2 : กำหนดแหล่งไม่ครอบคลุม พืชสกุลซิตรัส (Citrus spp.) อัฟริกา อเมริกากลาง อเมริกาใต้ ยุโรป ตะวันออกใกล้ ประเทศแถบทะเลเมติเตอร์เรเนียน สหรัฐอเมริกา อินเดีย ญี่ปุ่น ลังกา อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย
ข้อสังเกต 2 : กำหนดแหล่งไม่ครอบคลุม พืชสกุลซิตรัส (Citrus spp.) อัฟริกา อเมริกากลาง อเมริกาใต้ ยุโรป ตะวันออกใกล้ ประเทศแถบทะเลเมติเตอร์เรเนียน สหรัฐอเมริกา อินเดีย ญี่ปุ่น ลังกา อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย นำเข้าจาก จีน มาเลเซีย ฯลฯ ได้ ?
ข้อสังเกต 3 : ส่วนของพืชที่ควบคุม • 1. พืชสกุลโอไรซา (Oryza spp.) • 2. พืชสกุลฮีเวีย (Hevea spp.) • พืชสกุลซิตรัส (Citrus spp.) • พืชสกุลฟอจูเนลลา (Fortunella spp.) • พืชสกุลพอนซิรัส (Poncilus spp.) • 6. มะพร้าว (Cocos nucifera) • 7. มันสำปะหลัง (Manihot esculenta) • 8. พืชสกุลกอสซิปเปียม (Gossypium spp.)
ศัตรูพืชบางชนิดไม่ได้ทำลายศัตรูพืชบางชนิดไม่ได้ทำลาย ทุกส่วนของพืช ข้อสังเกต 3 : ส่วนของพืชที่ควบคุม • 1. พืชสกุลโอไรซา (Oryza spp.) • 2. พืชสกุลฮีเวีย (Hevea spp.) • พืชสกุลซิตรัส (Citrus spp.) • พืชสกุลฟอจูเนลลา (Fortunella spp.) • พืชสกุลพอนซิรัส (Poncilus spp.) • 6. มะพร้าว (Cocos nucifera) • 7. มันสำปะหลัง (Manihot esculenta) • 8. พืชสกุลกอสซิปเปียม (Gossypium spp.)
แนวทางใหม่สำหรับการออก ประกาศกระทรวงควบคุมการนำเข้าพืช
แนวทางเก่า แนวทางใหม่ พืช (เศรษฐกิจ) ศัตรูพืช ศัตรูพืช มาตรการจัดการ ความเสี่ยงศัตรูพืช แหล่งระบาด
วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช (Pest risk analysis, PRA) ศัตรูพืช 1, 2, 3....ฯลฯ ติดเข้ามา (Entry) เจริญแพร่พันธ์อย่างถาวร (Establishment) แพร่กระจาย (Spread) เสียหายทางเศรษฐกิจ (Economic importance) ศัตรูพืชควบคุม (Regulated pest)
International Plant Protection Convention (IPPC) • International Standards for Phytosanitary Measures (ISPMs) ISPM No. 2 Guidelines for Pest Risk Analysis (PRA)
International Plant Protection Convention (IPPC) • International Standards for Phytosanitary Measures (ISPMs) ISPM No. 11 Pest Risk Analysis for Quarantine Pests, Including Analysis of Environmental Risks and Living Modified Organisms
ศัตรูพืชควบคุม (Regulated pest) มาตรการจัดการความเสี่ยงศัตรูพืช (อบไอน้ำ พื้นที่ปราศจากศัตรูพืช ตรวจรับรอง ฯลฯ) วิธีการที่ยุ่งยาก วิธีการที่ไม่ยุ่งยาก พืชสิ่งต้องห้าม พืชสิ่งกำกัด
คำจำกัดความ (ใหม่) สิ่งต้องห้าม : เป็นส่วนของพืชหรือพาหะ การนำเข้ามีความเสี่ยงสูงที่ศัตรูพืชร้ายแรงจะถูกนำเข้ามา (introduce) เจริญแพร่พันธุ์อย่างถาวร (establish) แพร่กระจาย (spread) และก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจติดตามมาภายหลัง มาตรการจัดการความเสี่ยงศัตรูพืชมีความยุ่งยากและสลับซับซ้อน
คำจำกัดความ (ใหม่) สิ่งกำกัด : เป็นส่วนของพืชหรือพาหะ การนำเข้ามีความเสี่ยงสูงที่ศัตรูพืชร้ายแรงจะถูกนำเข้ามา (introduce) เจริญแพร่พันธุ์อย่างถาวร (establish) แพร่กระจาย (spread) และก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจติดตามมาภายหลัง มาตรการจัดการความเสี่ยงศัตรูพืชไม่ยุ่งยากและสลับซับซ้อน
1. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดพืช และพาหะ จากแหล่งที่กำหนดเป็นสิ่งต้องห้าม ข้อยกเว้นและเงื่อนไขตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2550 ลงวันที่ .......... 2. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดศัตรูพืชเป็นสิ่งต้องห้ามตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2550 ลงวันที่ .......... (ศัตรูพืชกักกัน 369 ชนิด) 3. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดพืช จากแหล่งที่กำหนดเป็นสิ่งกำกัด ข้อยกเว้นและเงื่อนไขตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 พ.ศ. 2550 ลงวันที่ ..........
1. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดพืช และพาหะ จากแหล่งที่กำหนดเป็นสิ่งต้องห้าม ข้อยกเว้นและเงื่อนไขตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2550 ลงวันที่ .......... รัฐมนตรีลงนามเมื่อ วันที่ 26 เมษายน 2550 2. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดศัตรูพืชเป็นสิ่งต้องห้ามตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2550 ลงวันที่ .......... (ศัตรูพืชกักกัน 369 ชนิด) 3. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดพืช จากแหล่งที่กำหนดเป็นสิ่งกำกัด ข้อยกเว้นและเงื่อนไขตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 พ.ศ. 2550 ลงวันที่ ..........
1. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดพืช จากแหล่งที่กำหนดเป็นสิ่งต้องห้าม ข้อยกเว้นและเงื่อนไขตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. 2550 ลงวันที่ .......... (ตัวไหม ไข่ไหม และรังไหม) 2. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดศัตรูพืชเป็นสิ่งต้องห้ามตาม พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. 2550 ลงวันที่ .......... (ศัตรูพืชกักกันเพิ่มเติม 103 ชนิด) 3. ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชซึ่งการนำเข้าสิ่งต้องห้าม ลงวันที่ ..........
ขั้นตอนการอนุญาตนำเข้า สิ่งต้องห้ามเพื่อการค้า
ประเทศผู้ส่งออก: องค์กรอารักขาพืชแห่งชาติ (National Plant Protection Organization, NPPO) (ยื่นคำขอเปิดตลาด พร้อมเอกสารวิชาการข้อมูลศัตรูพืชเพื่อการวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช)
ประเทศผู้ส่งออก: องค์กรอารักขาพืชแห่งชาติ (National Plant Protection Organization, NPPO) (ยื่นคำขอเปิดตลาด พร้อมเอกสารวิชาการข้อมูลศัตรูพืชเพื่อการวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช) กรมวิชาการเกษตร (วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชของสินค้าที่นำเข้า และกำหนดเงื่อนไขการนำเข้า)
ประเทศผู้ส่งออก: องค์กรอารักขาพืชแห่งชาติ (National Plant Protection Organization, NPPO) (ยื่นคำขอเปิดตลาด พร้อมเอกสารวิชาการข้อมูลศัตรูพืชเพื่อการวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช) กรมวิชาการเกษตร (วิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชของสินค้าที่นำเข้า และกำหนดเงื่อนไขการนำเข้า) ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (มาตรา 6 วรรคสาม ยกเว้นให้นำเข้าส่วนของพืชสิ่งต้องห้าม จากแหล่งที่กำหนด โดยต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด)