1 / 38

การดำเนินงานการคุ้มครอง (ทรัพย์สินทางปัญญาด้านพืช) ภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

การดำเนินงานการคุ้มครอง (ทรัพย์สินทางปัญญาด้านพืช) ภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542. โดย นางสาวธิดากุญ แสนอุดม นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร . การประชุมสัมมนา เรื่อง “แนวทางการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาทางการเกษตร”

Download Presentation

การดำเนินงานการคุ้มครอง (ทรัพย์สินทางปัญญาด้านพืช) ภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานการคุ้มครอง (ทรัพย์สินทางปัญญาด้านพืช) ภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 โดย นางสาวธิดากุญ แสนอุดม นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร การประชุมสัมมนา เรื่อง “แนวทางการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาทางการเกษตร” วันที่ 16 กันยายน 2557 ณ โรงแรม รอยัล ปริ๊นเซส หลานหลวง กรุงเทพฯ

  2. แนะนำหน่วยงาน • พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.2542 • การคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ • ผลการดำเนินงานจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่ หัวข้อบรรยาย

  3. กรมวิชาการเกษตร สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช กลุ่มวิจัยพฤกษศาสตร์ และพิพิธภัณฑ์พืช ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มวิจัยการคุ้มครองพันธุ์พืช กลุ่มวิจัยอนุสัญญาไซเตสด้านพืช • งานพฤกษศาสตร์และ • อนุกรมวิธาน • บริหารจัดการพิธภัณฑ์ • พืช งานกองทุนคุ้มครองพันธุ์พืช • พ.ร.บ.พันธุ์พืช 2518 • อนุสัญญาไซเตส (Cites) • นำเข้า-ส่งออก-นำผ่านพืชอนุรักษ์ • ขึ้นทะเบียนสถานเพาะเลี้ยงพืชอนุรักษ์ • พ.ร.บ.คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 • การจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่ • การเข้าถึงทรัพยากรพันธุกรรมพืช (ม.52, 53) • พ.ร.บ.พันธุ์พืช 2518 • ออกหนังสือรับรองพันธุ์พืชขึ้นทะเบียน

  4. พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

  5. การคุ้มครองเชิงทรัพย์สินทางปัญญา : ระบบจดทะเบียน การคุ้มครองเชิงอนุรักษ์ : ระบบควบคุมการเข้าถึงและแบ่งปันผลประโยชน์ พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542

  6. คุณสมบัติของพันธุ์พืชใหม่คุณสมบัติของพันธุ์พืชใหม่ ใหม่ (Novelty) ไม่มีการขาย จำหน่ายจ่ายแจก ส่วนขยายพันธุ์เกินกว่า 1 ปี ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ก่อนวันยื่นขอจดทะเบียน ชื่อที่เหมาะสม ถูกต้องตามกฎระเบียบ (Denomination) มีลักษณะประจำพันธุ์แตกต่างจากพันธุ์อื่นอย่างเด่นชัด (Distinctness) มีความสม่ำเสมอในลักษณะประจำพันธุ์ (Uniformity) มีความคงตัวในลักษณะประจำพันธุ์ (Stability) การคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ ปลูกทดสอบ DUS Testing

  7. พืชทุกชนิดสามารถยื่นจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ได้หรือไม่?พืชทุกชนิดสามารถยื่นจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ได้หรือไม่? “พันธุ์พืชใหม่ที่จะขอรับความคุ้มครองจะต้องเป็นชนิดพืชที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดไว้เท่านั้น” ปัจจุบันมีทั้งหมด 62 ชนิดพืช

  8. ชนิดพืชที่ได้รับการประกาศกำหนดให้เป็นพันธุ์พืชใหม่ที่จะได้รับการคุ้มครอง จำนวน 62 ชนิด พืชไร่ (11 ชนิด) ปาล์มน้ำมัน ฝ้าย ข้าว หญ้าแฝก ถั่วเหลือง ถั่วเขียว มันสำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด หญ้าเนเปียร์และลูกผสม งา

  9. พืชผัก (16 ชนิด) แตงเทศ มะเขือเทศ พริก ฟัก/แฟง แตงโม ผักกาดกวางตุ้ง ผักคะน้า ผักกาดหอม ฟักทอง มะเขือ บวบเหลี่ยม แตงกวาและแตงร้าน ถั่วฝักยาว ผักบุ้ง ถั่วแขก มะระ

  10. ไม้ดอก-ไม้ประดับ (13 ชนิด) โป๊ยเซียน หยก ไม้ดอกสกุลขมิ้น กล้วยไม้สกุลแวนด้าและ ลูกผสม กล้วยไม้สกุลแคทลียา และลูกผสม ชวนชม บัว กล้วยไม้สกุลหวาย กล้วยไม้สกุลฟาแลนน็อปซิส และลูกผสม บอนสี หน้าวัว แก้วกาญจนา ลั่นทม

  11. ไม้ผล-ไม้ยืนต้น (17 ชนิด) มะขาม ฝรั่ง ส้มเขียวหวาน เงาะ ลิ้นจี่ สับปะรด ทุเรียน ลำไย ขนุน กลุ่มมะปราง มะเฟือง มะละกอ มะนาวไทยและลูกผสม น้อยหน่าและลูกผสม มะม่วง ส้มโอ กล้วย

  12. พืชให้เนื้อไม้ (5 ชนิด) ยูคาลิปตัส ยางพารา พืชให้เนื้อไม้สกุลอเคเซีย กระถินณรงค์ สัก

  13. ขั้นตอนการจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ขั้นตอนการจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ ยื่นคำขอ /ตรวจสอบคำขอ วางแผนการปลูกทดสอบ ดำเนินการปลูกทดสอบ / ตรวจประเมิน / รายงานผลการตรวจสอบ อธิบดีกรมวิชาการเกษตรเห็นชอบ ประกาศโฆษณา 90 วัน เพื่อให้คัดค้าน อธิบดีกรมวิชาการเกษตรสั่งรับจดทะเบียน / ออกหนังสือสำคัญ

  14. ระยะเวลาในการคุ้มครอง / อายุหนังสือสำคัญ • 12 ปี สำหรับพืชที่ให้ผลผลิต ไม่เกิน 2 ปี • 17 ปี สำหรับพืชที่ให้ผลผลิต เกินกว่า 2 ปี • 27 ปี สำหรับพืชที่ใช้ประโยชน์จากเนื้อไม้

  15. สิทธิในพันธุ์พืชใหม่ • ผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืชใหม่มีสิทธิแต่เพียงผู้เดียว ในการผลิต • ขายหรือจำหน่ายด้วยประการใด นำเข้ามาในราชอาณาจักร • ส่งออกนอกราชอาณาจักร หรือมีไว้เพื่อกระทำการอย่าง • หนึ่งอย่างใดดังกล่าว ซึ่งส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชใหม่

  16. หน้าที่ของผู้ทรงสิทธิหน้าที่ของผู้ทรงสิทธิ • ผู้ทรงสิทธิต้องแสดงเครื่องหมายให้ปรากฏที่ส่วนขยายพันธุ์ พันธุ์พืชใหม่ ภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อ ในการขายหรือจำหน่ายด้วยประการใด ซึ่งส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชใหม่ • ผู้ทรงสิทธิ ต้องชำระค่าธรรมเนียมรายปีตามอัตรา และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง และต้องชำระภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือสำคัญของทุก ๆ ปี และถัดไป

  17. เครื่องหมายแสดงสำหรับแสดงกับส่วนขยายพันธุ์เครื่องหมายแสดงสำหรับแสดงกับส่วนขยายพันธุ์

  18. ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นส่วนขยายพันธุ์ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นส่วนขยายพันธุ์ เพื่อการศึกษา ค้นคว้าทดลอง วิจัยเพื่อปรับปรุงพันธุ์ กระทำโดยสุจริต หรือโดยไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อการค้า เพาะปลูกหรือขยายพันธุ์โดยเกษตรกร ถูกนำออกจำหน่ายด้วยความยินยอมของผู้ทรงสิทธิ ข้อยกเว้นสิทธิ

  19. บทกำหนดโทษ “พนักงานเจ้าหน้าที่” เปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับกรรมวิธีในการปรับปรุงพันธุ์พืชหรือยินยอม ให้ผู้อื่นใช้ส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชใหม่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ “ผู้ยื่นขอจดทะเบียน” แสดงข้อความอันเป็นเท็จแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

  20. บทกำหนดโทษ (ต่อ) • “ผู้ละเมิด” • ผู้ใดกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ผลิต ขาย นำเข้า ส่งออก เป็นต้น โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืชนั้น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ • ปลอมแปลงหรือใช้เครื่องหมายเลียนแบบ หรือกระทำการใดเพื่อให้บุคคลอื่นหลงเข้าใจผิดว่าพันธุ์พืชนั้นเป็นพันธุ์พืชที่ได้รับความคุ้มครองพันธุ์ตาม พ.ร.บ. นี้ โทษจำคุกหกเดือนถึงห้าปี ปรับ 20,000-200,000 บาท

  21. บทกำหนดโทษ (ต่อ) “ผู้ทรงสิทธิ” ไม่แสดงเครื่องหมายให้ปรากฏที่ส่วนขยายพันธุ์พืชใหม่ ภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

  22. เริ่มรับคำขอปี 2546 - ปัจจุบัน • จำนวนคำขอ 1,152 คำขอ • จดทะเบียนแล้ว 252 คำขอ ผลการดำเนินงานจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่

  23. จำแนกคำขอจดทะเบียนจำนวน 1,152 คำขอตามกลุ่มพืช

  24. ส่วนราชการ 16 หน่วยงาน 183 คำขอ • นิติบุคคล 29 หน่วยงาน 868 คำขอ • นักปรับปรุงพันธุ์ 47 ราย 101 คำขอ จำแนกคำขอจดทะเบียนตามประเภทของผู้ยื่นคำขอ

  25. กลุ่มพืชไร่ จดทะเบียน 72 พันธุ์

  26. กลุ่มพืชผัก จดทะเบียน 91 พันธุ์

  27. กลุ่มไม้ดอก-ไม้ประดับ จดทะเบียน 45 พันธุ์

  28. กลุ่มไม้ผล-ไม้ยืนต้นและพืชให้เนื้อไม้ จดทะเบียน 44 พันธุ์

  29. บัว (อุบลชาติ)

  30. มะระบริษัท เจียไต๋ จำกัด

  31. ผักบุ้ง บริษัท อีสท์ เวสท์ ซีด จำกัด

  32. มะปรางคุณบุญชอบ เอมอิ่ม จ. สุโขทัย

  33. Q & A นางสาวธิดากุญ แสนอุดม นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร โทรศัพท์ 02 940 7214e-mail: thidakuns@hotmail.com ขอบคุณค่ะ

  34. นายป่าน ปานขาว (พืชไร่) 1.ข้าว 2.ถั่วเขียว 3. ถั่วเหลือง 4. มันสำปะหลัง 5. มะนาว 6. ยูคาลิปตัส 7. อ้อย 8. หญ้าแฝก 9. หญ้าเนเปียร์ น.ส.ยุวลักษณ์ ผายดี 1.งา 2.ไม้ดอกสกุลหน้าวัว 3. มะพร้าว การประสานงานขอจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่

  35. น.ส.ธิดากุญ แสนอุดม 1.ผักกาดหอม 2.ผักคะน้า 3. ผักกาดกวางตุ้ง 4. ฝ้าย 5. มะม่วง 6. เงาะ 7. มะละกอ 8. บอนสี 9. แก้วกาญจนา - มาตรา 52 และ 53 -ออกหนังสือรับรองพันธุ์พืช ขึ้นทะเบียน*พ.ร.บ.พันธุ์พืช 2518 น.ส.รุ่งทิวา ธนำธาต (พืชผัก-ไม้ดอก) 1.กล้วยไม้สกุลหวาย 2.กล้วยไม้สกุลแวนด้า 3. ไม้ดอกสกุลขมิ้น 4. กล้วยไม้สกุลฟาแลนน็อปซิส 5. กล้วยไม้สกุลแคทลียา 6. มะเขือเทศ 7. พริก 8. แตงเทศ 9. ฟักทอง 10.มะเขือ น.ส.วาสนา มั่งคั่ง (พืชผัก-ไม้ดอก) 1.บัว 2.แตงโม 3. มะระ 4. ผักบุ้งจีน 5. ถั่วฝักยาว 6. ฟัก/แฟง 7. บวบเหลี่ยม 8. แตงกวาและแตงร้าน การประสานงานขอจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่

  36. นายณัฐวุฒิ กฤษสมัคร 1.ขนุน 2.ฝรั่ง 3. มะขาม 4. มะเฟือง 5. กลุ่มมะปราง 6. ชวนชม7. ลั่นทม 8. โป๊ยเซียน 9. หยก 10. ปาล์มน้ำมัน 11. ถั่วแขก น.ส.วราภรณ์ ทองพันธ์ (พืชไร่-ไม้ผล) 1.ทุเรียน 2.ลิ้นจี่ 3. ลำไย 4. น้อยหน่า 5. ส้มเขียวหวาน 6. ส้มโอ 7. มะนาว 8. สับปะรด 9.กระถินณรงค์ 10. สัก 11. สับปะรด 12. ข้าวโพด 13. ยางพารา การประสานงานขอจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่

  37. สถานะคำขอจดทะเบียน

More Related