1 / 39

Measles Elimination, Thailand

Bureau of Epidemiology, DDC Bureau of General Communicable Diseases, DDC National Institute of Health, DMSc Bureau of Practical Development, DMS. Measles Elimination, Thailand. Measles elimination: WHO definition.

hinto
Download Presentation

Measles Elimination, Thailand

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Bureau of Epidemiology, DDC Bureau of General Communicable Diseases, DDC National Institute of Health, DMSc Bureau of Practical Development, DMS Measles Elimination, Thailand

  2. Measles elimination: WHO definition การไม่พบผู้ป่วยโรคหัดที่ติดเชื้อภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือนขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ

  3. ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ • มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อประชากรแสนคน ระดับประเทศ • มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายภายใน 48 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง • มีการตรวจ measles IgMไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเฉพาะราย • มีการส่งตรวจ วิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด

  4. ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบันระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!

  5. นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) • มีไข้> 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้พร้อมทั้งมีอาการไอ(Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ • มีน้ำมูก (Coryza) • เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) • ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น

  6. นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgMให้ผลบวก 2.2. Viral isolation - เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture

  7. ประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง

  8. นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด • ผู้สัมผัสร่วมบ้าน • ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกันเป็นประจำ • ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อนสนิท

  9. การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังเพื่อการกำจัดโรคหัดการรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังเพื่อการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล

  10. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (1)

  11. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (2) www.boe.moph.go.th www.boe.moph.go.th

  12. การสอบสวนโรค • การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด (outbreak investigation) กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้รีบทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgMประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค

  13. เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่ • มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน • เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมี อาการป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย • ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจMeasles IgMให้ผลบวก • ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 ถึง 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในโรงเรียน

  14. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (1)

  15. ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (2) www.boe.moph.go.th www.boe.moph.go.th

  16. แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

  17. แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

  18. แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

  19. แบบสอบสวนเหตุการณ์การระบาด(ME2 form)

  20. ฐานข้อมูล online โครงการกำจัดโรคหัด

  21. Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012 Bureau of Epidemiology Ministry of Public Health

  22. Reported Measles, 2011 – May 2012

  23. Number of reported measles by month, Thailand, 2011 - 2012 2012 2011

  24. Number of reported measles by province, 2011 Measles outbreak จ.ลำปาง ก.ย. – ต.ค. Rubella outbreak น่าน พ.ค. Rubella outbreak ธ.ค. Measles outbreak Rubella outbreak สมุทรปราการ ก.พ Measles outbreak ก.ย. – ต.ค. Rubella outbreak ก.ย. – ต.ค. Number of cases Number of cases Measles outbreak ปัตตานี นราธิวาสต.ค. - ธ.ค. Rubella outbreak ปัตตานี ต.ค. R506 (75 prov) Measles elimination (41 Prov)

  25. Number of reported measles by province, 2012 Measles outbreak ม.ค. R/O Measles outbreak มิ.ย. Measles outbreak ก.พ. Measles outbreak ก.พ. Number of cases Number of cases Measles cluster เม.ย. R506 (69 prov) Measles elimination (50 Prov)

  26. Number of reported measles under 15 yr-old by province, Jan – May 2012 Number of cases Number of cases R506 Measles elimination

  27. Number of reported measles age 1-5 yr-old by province, Jan – Mar 2012 Number of cases Number of cases Measles elimination R506

  28. Confirmed Measles outbreak, 2012

  29. Proportion of cases by age group

  30. Vaccination history of reported cases in 2011 Measles elimination database

  31. Reported Myanmar cases in ME, 2012

  32. สรุปสถานการณ์โรคหัด • ประเทศไทยยังมีการเกิดโรคหัดภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง และมีการระบาดเป็นกลุ่มใหญ่ประปราย • ยังมีกลุ่มอายุที่ไม่มีภูมิคุ้มกัน ได้แก่ 20 – 30 ปี โดยเฉพาะแรงงานต่างด้าว • ยังมีพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ทำให้เกิดการระบาดในเด็ก • การพบโรคหัดในสัดส่วนที่สูงในกลุ่มเด็ก ทั้งจากรายงาน 506 และ ME • Measles vaccine เข็มที่ 1 มีความครอบคลุมต่ำ / ภูมิคุ้มกันลดลง (พ.ศ. 2554 มี 30 confirmed ที่ได้วัคซีนแล้ว 1 ครั้ง)

  33. สรุปและข้อเสนอแนะต่อระบบเฝ้าระวังสรุปและข้อเสนอแนะต่อระบบเฝ้าระวัง • มีความพร้อมของการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานทั้ง NIH และ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ • ยังขาดการประสานข้อมูลระหว่าง SRRT กับงานควบคุมโรค • ควรมีการประเมินข้อมูลความครอบคลุมของวัคซีน • จังหวัดที่มีอัตราป่วยในเด็กสูง หรือ มีการระบาดในโรงเรียน

  34. Thank you for your attention

More Related