1 / 28

Benchmarking

Benchmarking. รองศาสตราจารย์ ชัยยศ สันติวงษ์. รู้เขา รู้เรา. รู้เรา ทำงานด้วยหยาดเหงื่อและน้ำตา รู้เขา ทำงานด้วยโอกาสและสมอง รู้เขา รู้เรา ทำงานด้วยสติและภูมิปัญญา Benchmarking. Do right things. Benchmark world class. Business Strategy Market Customer Products Services

ishi
Download Presentation

Benchmarking

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Benchmarking รองศาสตราจารย์ ชัยยศ สันติวงษ์

  2. รู้เขา รู้เรา • รู้เรา ทำงานด้วยหยาดเหงื่อและน้ำตา • รู้เขา ทำงานด้วยโอกาสและสมอง • รู้เขา รู้เรา ทำงานด้วยสติและภูมิปัญญา Benchmarking

  3. Do right things Benchmark world class Business Strategy Market Customer Products Services Customer needs COMPETITIVE ADVANTAGES Strategic repositioning Radical change Competitiveness Driving Force Continuous improvement EGAT Capability strategy Developing capabilities Do things right

  4. ประโยชน์ของ Benchmarking • ปรับปรุงการวางแผนเชิงกลยุทธ์ • ช่วยการประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน • ช่วยให้มีวิธีการปฎิบัติงานที่ดีที่สุด Best Practices • นำไปสู่การประหยัดรายจ่ายอย่างเห็นได้ชัด • ช่วยปรับปรุงความสามารถขององค์กร คุณภาพ และกระบวนการได้อย่างยั่งยืน • ทุกคนสามารถปรับปรุงตัวเองได้ • เกิดการปัน Best Practice

  5. 3 รูปแบบของ Benchmarking • ภายใน • Benchmark ภายในองค์กรเอง • ภายนอกหรือการแข่งขัน • เปรียบเทียบของท่านกับผู้อี่น • Best Practice หรือกระบวนการ • เปรียบเทียบกับองค์กรที่มีประสิทธิผลมากที่สุดในธุรกิจประเภทเดียวกัน

  6. Benchmark ภายในองค์กรเอง • Product benchmarking • Process benchmarking • Competency benchmarking Benchmark ภายนอกหรือการแข่งขัน • Strategic benchmarking Best Practiceหรือ กระบวนการ • Competitive Benchmark - ทำกับคู่แข่งโดยตรง • Cooperative Benchmark - ทำร่วมกับองค์กรเป้าหมาย • Collaborative Benchmark – การร่วมมือระหว่างกลุ่มในองค์กรสมาชิก

  7. Levels of Benchmarking • Strategic • Using best practices to develop corporate, program, product strategies, and results, (i.e. specific studies of strategies and approaches of high performing organizations) • Operational • Assessing and implementing the bests practices of industry or governmental organizations to improve processes to the extent possible to meet organizational goals.

  8. Who Should be Benchmarked? • Internal Benchmarking • Comparisons within the organizations (i.e. IRS auditing process with auditors generals process) • Competitive Benchmark • Comparisons between direct competitors (i.e. Ford’s dealer programs with General Motors) • Functional Benchmark • Comparisons between functions inside and outside the firm. (i.e. IBM product development process with GEAE) • Generic Benchmarking • Comparisons to unrelated organizations known for product innovation ( 3M and Xerox)

  9. ระดับของ Benchmarking • ระดับกลยุทธ์ • ใช้ best practices ในการพัฒนาบริษัท แผนงาน กลยุทธ์ตัวสินค้า • ระดับปฎิบัติการ • ประเมินและดำเนินการปฎิบัติ bests practices ของอุตสาหกรรมเพื่อปรับปรุงกระบวนการให้ไปสู่เป้าหมายองค์กร.

  10. Range of Benchmarks FOCUS Benchmark Levels Type Improvement Benefit STRATEGICBest-in-World 7 Generic Processes 30% * Product / Services * Business Processes * Business Function Best-in-Country 6 Functional Areas 30%-40% PERFORMANCEIndustry Leader 5 Direct Competitor 15%-20% * Customer Satisfaction Norm 4 * Output : Standard 3 --Products & Services PROCESS Best-in-Company 2 Internal 15% * Practices & Capability * Inputs: -- Material/Supplier Baseline 1 Client, Enterprise & Competitive Intelligence for Product, Process & Systems Innovation Dr. Rick L. Edgeman, University of Idaho

  11. Adapting Improving Implementing The findings Planning the study Action Plan Check Do Analyzing the data Conducting the research Benchmarking process เมื่อเทียบกับ วงจรของเดมมิ่ง

  12. กระบวนทัศน์ใหม่ พื้นฐาน Benchmarking องค์กรเป็นเลิศ Goal อะไรที่ท่านต้องทำเพื่อไปสู่วิสัยทัศน์? P C Outside in A Goal A • ค้นหาว่าขณะนี้กิจการอยู่ตรงไหน • กิจการต้องการไปเป็นอะไร • ค้นหาองค์กรในฝันดังกล่าวมาเทียบเคียง • สำรวจว่ากระบวนการใดเอื้อให้องค์กรในฝันสำเร็จแล้วพยายามทำในสิ่งเดียวกันให้ดีกว่า Knowledge experience Goal P C แปลงให้สอดคล้องกับเป้าหมาย Benchmark A A Driving Force P C ช่องว่าง A A Inside out EGAT Self assessment Data collection What How

  13. ตัวแบบการ Benchmarking • ค้นหาดูว่าจะเทียบเคียงอะไร ? • ระบุบริษัทที่จะนำมาเทียบเคียง • วัดช่องว่างของการดำเนินงานที่มีอยู่ • ระบุตัวเอื้อที่นำไปสู่ความเป็นเลิศ • เรียนรู้ด้วยตัวเราเองว่าเราทำอย่างไร • เรียนรู้ว่าบริษัทที่นำมาเทียบเคียงทำอย่างไร • กำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน • นำมาปรับและปฎิบัติ • พัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิมอย่างต่อเนื่อง • เริ่มใหม่ด้วยเป้าหมายที่สูงขึ้นกว่าเดิม

  14. Planning the study ขั้นตอนที่ 1:วางแผนโครงการ Benchmarking • บริษัทต้องระบุสิ่งเหล่านี้: • แผนกลยุทธ์ • ขีดความสามารถหลัก • แผนกำลังความสามารถcapabilities Vision Mission Value Goal ต้องการเทียบเคียงอะไร? วิเคราะห์ เลือกกระบวนการที่ต้องการ เทียบเคียงและหาดูว่ามีการเพิ่มคุณค่า ได้อย่างไร ช่องว่าง ภายใน ตำแหน่งภายนอก ทำการเทียบเคียง หาดูว่าจะวัดปัจจัยสำเร็จอย่างไร

  15. วางแผน-กำหนดช่องทางโอกาสการปรับปรุงวางแผน-กำหนดช่องทางโอกาสการปรับปรุง พนักงานขาย สินค้า คุณภาพไม่ดี ผิดคน ความพอใจลุกค้าลดลง การส่งมอบ บริการลูกค้า

  16. กำหนดตัววัดที่เหมาะสมกำหนดตัววัดที่เหมาะสม • ตัววัดหรือมาตรวัดต้องเชื่อมโยงกับผลการดำเนินงานของหน้าที่งานสนับสนุนและกลยุทธ์องค์กร • คุณภาพ • ต้นทุน • รอบเวลา

  17. ขั้นตอนที่ 2:เก็บข้อมูลที่จำเป็น Conducting the research เก็บรวบรวมข้อมูลภายใน “ที่เราทำอยู่ทำอย่างไร?” Balance Score card • วิจัยทุติยภูมิ • ค้นหากระบวนการที่เราสนใจจากแหล่งที่เปิดเผยภายนอก • เก็บรวบรวมข้อมูลจากภายนอก • เลือกองค์กรที่เราต้องการเทียบเคียง • “ที่เขาทำอยู่ทำอย่างไร ?”

  18. ทำการสำรวจกลั่นกรอง แผนการเก็บรวบรวมข้อมูล วิจัยทุติยภูมิ • ค้นหาดูว่ามีข่าวสารอะไรที่ต้องการ • สังเคราะห์และวิเคราะห์สิ่งที่ค้นพบ • ทำรายละเอียดแบบสอบถาม • ระบุการติดต่อสื่อสารกันภายในองค์กร • พูดคุยกับผู้ปฎิบัติที่ทำงานในกระบวนการ • สังเกตุกระแสงานและกระบวนการ ออกภาคสนาม สัมภาษณ์ • ตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล

  19. ขั้นตอนที่ 3:วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาช่องว่างการดำเนินงาน • เปรียบเทียบผลการดำเนินงานปัจจุบันกับที่นำมาเทียบเคียง Balance Score card 2.ระบุช่องว่างการดำเนินงานและหาดู สาเหตุรากของปัญหา 3. แยกกระบวนการที่สามารถนำองค์กร อื่นมาเทียบเคียงหาวิธีการ 4.หาดูว่าสามารถปรับกระบวนการเหล่านี้เข้ากับวัฒนธรรมและโครงสร้างของเราเองได้หรือไม่ Analyzing the data

  20. การวิเคราะห์ข้อมูล • วิเคราะห์ช่องว่าง • เปรียบเทียบผลการดำเนินงานปัจจุบันเทียบเคียงกับข้อมูลของตัวที่นำมาเทียบ • ระบุช่องว่าง • ระบุวิธีปฎิบัติที่ดีที่สุดและตัวที่เอื้อต่อการปฎิบัติงาน • สร้างกลยุทธ์การนำไปปฎิบัติ • พัฒนาแผนปฎิบัติงาน • สื่อสารสิ่งที่ค้นพบ

  21. ขั้นตอนที่ 4:ดำเนินการนำกระบวนการใหม่ลงสู่ปฎิบัติ Adapting Improving Implementing The findings • ตั้งเป้าหมายที่จำเป็น • ในการขจัดช่องว่างการดำเนินงาน ตำแหน่งภายนอก 2. ปรับและนำกระบวนการใหม่ไปใช้ให้เหมาะสมกับวัฒนธรรมและโครงสร้างขององค์กรเรา วิเคราะห์ ทำการเทียบเคียง ทบทวน 3 ผูกพันทรัพยากรที่จำเป็น ต่อการนำไปปฎิบัติ ต้องการเทียบเคียงอะไร ช่อว่างภายใน 4. ดำเนินการและปฎิบัติตามแผน Gap? Variance? Change? 5. กำกับความคืบหน้าและวัดผลสำเร็จ Balance Score card

  22. สิ่งที่จำเป็นต่อการทำ benchmarkingที่มีประสิทธิผล • ชุดข้อมูลหลัก • ระบบIT ที่มีประสิทธิผล • ข้อมูลเชื่อถือได้ • การสนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลที่ดี • ผู้เกี่ยวข้องต้องมีส่วนร่วม • มีเงินมีคนมีเวลาพอ • อย่าหวังผลเร็ว

  23. ผลที่ตามมาจากการทำ benchmarks • ถ้าตั้ง Benchmark ไว้สูงเกินไป • ทุกคนล้มเหลว • ถ้าตั้ง Benchmark ไว้ต่ำเกินไป • ไม่สามารถตรวจสอบได้ว่ามี Poor practice • ถ้าตั้งBenchmark ไว้ถูกต้อง • การปฎิบัติงานได้รับการปรับปรุงและสามารถเทียบเคียงได้สำเร็จ

  24. การตั้ง benchmark สิ่งที่ไม่ควร Benchmark • ไม่มีการสำรวจความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลง • เป็นหัวข้อที่ไม่สำคัญ • ไม่สามารถลงสู่ปฎิบัติได้ Benchmarkควรจะ • Realistic • Practicable • Worthwhile • Set by Specialist

  25. Lesson learned fromBenchmarking • ปกติ Benchmarking team ประกอบด้วย 5-7 คน • ใช้เวลาในการศึกษาประมาณ 3-12 เดือน โดยเฉลี่ยใช้เวลา 6เดือน • ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยตกอยู่ระหว่าง$35,000-$75,000.

More Related