350 likes | 872 Views
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทานในองค์กร ภายใต้กิจกรรมการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) โดย สำนักพัฒนาการจัดการอุตสาหกรรม. วันที่ 23 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุม AEC ชั้น 5 อาคาร กสอ. วัตถุประสงค์.
E N D
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการการเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทานในองค์กร ภายใต้กิจกรรมการจัดการความรู้(Knowledge Management : KM)โดย สำนักพัฒนาการจัดการอุตสาหกรรม วันที่ 23 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุม AEC ชั้น 5 อาคาร กสอ.
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้รับความรู้ความเข้าใจ ในระบบการจัดการโซ่อุปทานและสามารถนำไปประยุกต์ให้เข้ากับการทำงานด้านระบบการจัดการโซ่อุปทาน • เพื่อขยายผลไปสู่ผู้ประกอบการ ก่อให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันได้
CoPช่วยพัฒนาไปสู่การเรียนรู้CoPช่วยพัฒนาไปสู่การเรียนรู้ บ่งชี้ ยกระดับ สร้าง CoP ใช้ แลกเปลี่ยน องค์กรแห่ง การเรียนรู้ CoP7 CoP4 CoP5 CoP3 CoP2 CoP8 CoP6 CoP10 CoP1 CoP9 ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด
ภาวะผู้นำซัพพลายเชน ผู้นำ ต้อง(มีวิสัยทัศน์ทั้งศาสตร์และศิลป์)ขับเคลื่อน ผลักดันให้เกิดการทำงานร่วมกัน(Synchronized) ไว้วางใจกัน(พรรค พ ว ก) และแบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกัน(Mutual benefits;เทคนิค กระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การฝึกอบรมแนะนำ))เนื่องจากแต่ละองคกร์มีคู่ค้าจำนวนมาก และเป็นเอกเทศในการตัดสินใจและปฏิบัติงานตามวิธีของตนเอง เพื่อ...... “บรรลุประสิทธิภาพและการตอบสนองความต้องการของลูกค้า คือ การมีต้นทุนต่ำซึ่งต้องมีการจัดการต้นทุนในทุกขั้นซัพพลายเชน”
คำนิยามของโลจิสติกส์ (Logistics) การจัดการโลจิสติกส์เป็นองค์ประกอบของการจัดการซัพพลายเชน คือการวางแผน การปฏิบัติงานและการควบคุม อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ทั้งล่วงหน้าและย้อนกลับของ การเคลื่อนย้าย และการจัดเก็บสินค้า บริการ และสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง จากจุดเริ่มต้นจนถึงจุดของการบริโภค เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า ที่มา : The Council of Supply Chain Management Professional (CSCMP)
องค์ประกอบของการจัดการโลจิสติกส์องค์ประกอบของการจัดการโลจิสติกส์ ปัจจัยนำเข้า ของโลจิสติกส์ ผลได้ ของโลจิสติกส์ การจัดการโลจิสติกส์ ลูกค้า ผู้จัดส่งวัตถุดิบ/ สินค้า กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ > การบริการลูกค้า > การเลือกที่ตั้งโรงงานและคลังสินค้า > การพยากรณ์ความต้องการ > การจัดซื้อจัดหา > การสื่อสารในการกระจายสินค้า > การหีบห่อ > การควบคุมสินค้าคงคลัง > การจัดการสินค้าส่งคืน > การยกขนวัสดุ > การการทำลายและการนำกลับมาใช้ใหม่ > กระบวนการสั่งซื้อ > การจราจรและการขนส่ง > การสนับสนุนอะไหล่และบริการ > คลังสินค้าและการเก็บรักษาสินค้า
คำนิยามของซัพพลายเชน (Supply Chain Management) การจัดการซัพพลายเชน คือประมวลการวางแผนและการจัดการกิจกรรมทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับการเสาะหาและจัดหาการแปลงสภาพสินค้า และกิจกรรมการจัดการโลจิสติกส์ทั้งหมดรวมถึงการประสานงานและความร่วมมือกับช่องทางคู่ค้าตั้งแต่ผู้ค้า ตัวกลาง ผู้ให้บริการบุคคลที่สามจนถึงลูกค้า ที่มา : The Council of Supply Chain Management Professional (CSCMP)
Value Chain Supply Chain Model Manufacturers, Distributors, Retailers C U S T O M E R S Information Flow S U P P L I E R S Collaborative Planning Flow Material, Product, and Service Flow Fund Flow
วิวัฒนาการของการบริหารห่วงโซ่อุปทานวิวัฒนาการของการบริหารห่วงโซ่อุปทาน • 1970 มุ่งเน้นที่ประสิทธิภาพของเฉพาะแต่ละ หน่วยงาน • 1980 มุ่งเน้นการรีเอ็นจิเนียริ่ง • 1990 มุ่งเน้นการให้บริการลูกค้า • 2000 มุ่งเน้นที่ประสิทธิภาพสูงสุดของโซ่อุปทาน
ผู้ บริโภค ผู้กระ จาย สินค้า ค้าปลีก/ส่ง ผู้จัดส่งวัตถุดิบ ผู้ผลิต จัดซื้อ จัดส่ง ผลิต Supply Chain Logistics • การบริการลูกค้า • การพยากรณ์ความต้องการ • การสื่อสารการกระจายสินค้า • การควบคุมสินค้าคงคลัง • การยกขนวัสดุ • กระบวนการสั่งซื้อ • การสนับสนุนอะไหล่และบริการ • การเลือกที่ตั้งโรงงาน/คลังสินค้า • การจัดซื้อจัดหา • การบรรจุหีบห่อ • การจัดการสินค้าส่งคืน • การนำกลับมาใช้ใหม่ • การขนส่ง • คลังสินค้า Logistics and Supply Chain
วัดอะไรในกระบวนการ Logistics ? • ประสิทธิภาพของการใช้ต้นทุน Cost Effectiveness • ผลิตภาพพนักงาน Staff Productivity • ประสิทธิภาพกระบวนการ Process Efficiency • รอบระยะเวลา Cycle Time
ผู้จัดจ่ายวัตถุดิบ/ส่วนประกอบ (Raw Material/ component suppliers ผู้ผลิต (Manufacturers) ผู้ค้าส่ง/ผู้กระจายสินค้า (Wholesalers/distributors) ผู้ค้าปลีก (Retailers) ผู้บริโภค (Customer) http://th.wikipedia.org/wiki/
Plan Source Make Deliver Deliver Source องค์ประกอบของกระบวนการในโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน โซ่อุปทานภายในองค์กร โซ่อุปทานภายนอกองค์กร โซ่อุปทานภายนอกองค์กร Source Make Deliver Source Deliver Make Suppliers’Supplier Supplier Customer Customer’sCustomer Your Company (internal or external) (internal or external) การจัดซื้อ จัดหา (Source) การผลิต (Make) การจัดส่ง (Deliver) การวางแผน (Plan) 18
การไหลของ Supply Chain มีสามแบบ(ในมุมมองที่ต่างกัน) ได้แก่ 1) การไหลของวัตถุดิบ (Materials flows)หมายถึง ผลิตภัณฑ์ต่างๆ วัตถุดิบ การจัดส่ง และอื่นๆ ที่ไหลไปตามสายโซ่ แนวความคิดของ materials flows รวมทั้ง reverse flows-returned products, recycled products และ disposal of materials or products. 2) การไหลของสารสนเทศ (Information flows) หมายถึงข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวกับความ ต้องการ การจัดส่ง การสั่งของ การส่งคืน และ ตารางเวลา (schedule) เป็นการไหลของ สารสนเทศทั้งสิ้น 3) การไหลทางบัญชี (Financial flows)หมายถึง การโอนเงิน การจ่ายเงิน สารสนเทศของ credit card และ การอนุมัติ ตารางการจ่ายเงิน การจ่ายเงินแบบอิเลคทรอนิคส์ และเครดิตที่สัมพันธ์กับข้อมูล
Material Control Purchasing Production Sales Distribution Purchasing Production Sales Distribution Material Control Focal Company Supplier Customer Supplier Focal Company Customer A H B G C F D E Characters of Supply chain 1. Within department 2. Between department 3. Between organizations 4. Between network 5. Supply web
Efficient supply chain management must result in tangible business improvements. It is characterized by a sharp focus on • Revenue growth • Better asset utilization • Cost reduction.
SUPPLY CHAIN MANAGEMENT การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า(CUSTOMER RELATIONSHIP MANAGEMENT) การจัดการการให้บริการแก่ลูกค้า(CUSTOMER SERVICE MANAGEMENT) การจัดการความต้องการของลูกค้า(DEMAND MANAGEMENT) การจัดการคำสั่งซื้อของลูกค้า(CUSTOMER ORDER FULFILLMENT) การจัดการการผลิตMANUFACTURING FLOW MANAGEMENT การบริหารความสัมพันธ์กับผู้ส่งมอบ(SUPPLIER RELATIONSHIP MANAGEMENT) การพัฒนาผลิตภัณฑ์(PRODUCT DEVELOPMENT AND COMMERCIALIZATION) การส่งคืนสินค้า(RETURNS) Integrating and Managing Processes Across the Supply Chain Information Flow Manufacturer Tier 2 Supplier Tier 1 Supplier Consumer/End-user Logistics Customer Marketing & Sales Purchasing PRODUCT FLOW Production Finance R&D Supply Chain Business Processes Source: Douglas M. Lambert, Martha C. Cooper, Janus D. Pagh, “Supply Chain Management: Implementation Issues and Research Opportunities”, The International Journal of Logistics Management, Vol. 9, No. 2, 1998, p. 2.
องค์ประกอบและกิจกรรมของโลจิสติกส์ภาคการผลิตองค์ประกอบและกิจกรรมของโลจิสติกส์ภาคการผลิต Goods and Services Information Customers Suppliers Finance วางแผน จัดซื้อ จัดส่ง ข้อมูลและการเงิน ผลิต 26
ตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์(Logistics performance Index: LPI) วัดผลการดำเนินงานใน 3 มิติ ประกอบด้วย • ด้านการบริหารต้นทุน (Cost Management) เป็นดัชนีที่แสดงถึงสัดส่วนต้นทุนของกิจกรรมโลจิสติกส์เปรียบเทียบกับยอดขายประจาปีทั้งหมดของกิจการ • ด้านเวลา (Lead Time) เป็นดัชนีที่ใช้ข้อมูลระยะเวลาของการเคลื่อนย้ายสินค้าและข้อมูลที่เกิดขึ้นในแต่ละกิจกรรมโลจิสติกส์ • ด้านความน่าเชื่อถือ (Reliability) เป็นดัชนีที่ใช้วัดความน่าเชื่อถือเกี่ยวกับการส่งมอบสินค้าและการตอบสนองความต้องการของลูกค้า กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม
Supply Chain Improvement Methodologies There is no shortage of tools and methodologies from which to choose that deliver supply chain improvement. • Business Process Mapping • Kaizen – Continuous Improvement • Six Sigma • Kanban – Pull Systems • Enterprise Resource Planning • Visual Management • Total Quality Mgt • Lean • Toyota Production System (TPS) • Quality Function Deployment • Value Add Analysis • Service Value Analysis • Affinity Diagram Problem Solving • Just-in-Time • Reverse Logistics Mgt • Value Stream Mapping • Distribution Resource Planning • Manufacturing Process Mgt • 5S – Workplace Organization • Supply Chain Operations Reference (SCOR) • Production Leveling • Voice of Customer (VOC) • Benchmarking • Process Capability Assessment • Cause and Effect Analysis • Fault Tree Analysis
หน้าที่หลักของโซ่อุปทานในองค์กรหน้าที่หลักของโซ่อุปทานในองค์กร การบริหารการผลิต (Manufacturing Management) การบริหารการผลิต (Manufacturing Management) การบริหารกระจายสินค้า (Distribution Management) การบริหารกระจายสินค้า (Distribution Management) การบริหารวัสดุ (Material Management) โซ่อุปทานในแผนก กล่าวคือในแผนกเดียวกันในองค์กรนั้นมีการเชื่อมโยงหรือแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกันหรือไม่ โซ่อุปทานระหว่างแผนก กล่าวคือ ระหว่างฝ่ายนั้นมีการแบ่งปันข้อมูลที่ควรทราบถึงกันหรือไม่ โซ่อุปทานระหว่างองค์กร เป็นโซ่อุปทานที่มีการจับมือกันอย่างยั่งยืนระหว่างซัพพลายเออร์ ผู้ผลิต ผู้กระจายสินค้าและลูกค้าเป็นความเชื่อมต่อแบบเนื้อเดียวของกิจกรรมโลจิสติกส์ทั้งภายในและระหว่างองค์กร
Supply Chain Problems and Solutions • ปัญหาที่เกิดกับ supply chain • ความไม่แน่นอนต่างๆ (Uncertainties) • ความจำเป็นต้องประสานงานกับการดำเนินงานหลายๆแบบ ทั้งภายในด้วยกันเอง (ข้ามแผนก) และ พันธมิตรธุรกิจทั้งหลาย • ความไม่แน่นอนของ supply chain ก็คือการพยากรณ์ความต้องการ (demand forecast) ความต้องการจริงอาจเปลี่ยนแปลงออกไปจากที่ประมาณการเอาไว้โดยผลของการดำเนินการต่างๆ เช่น สภาพการแข่งขัน ราคา สภาพภูมิอากาศ การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี ความเชื่อมั่น ของลูกค้า ระยะเวลาในการจัดส่ง และอื่นๆ
Q & A Thank you