320 likes | 519 Views
ระเบียบวิธีการเบิกจ่ายงบประมาณ. โดย. กันต์ชิตา อัมพวัน. นักวิชาการคลัง 6 ว. สำนักงานคลังจังหวัดสงขลา โทร.0-7431-1361,0-7432-4721. email : class2_01@yahoo.com. ประเด็นสำคัญ. 1.ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง. 2.ลักษณะรายจ่ายตามงบประมาณ. 3.การเบิกเงิน. 4.การจ่ายเงิน.
E N D
ระเบียบวิธีการเบิกจ่ายงบประมาณระเบียบวิธีการเบิกจ่ายงบประมาณ โดย... กันต์ชิตา อัมพวัน นักวิชาการคลัง 6 ว. สำนักงานคลังจังหวัดสงขลา โทร.0-7431-1361,0-7432-4721 email : class2_01@yahoo.com
ประเด็นสำคัญ 1.ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.ลักษณะรายจ่ายตามงบประมาณ 3.การเบิกเงิน 4.การจ่ายเงิน 5.การนำเงินที่เบิกส่งคืนคลัง
1. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2520 ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง ของส่วนราชการ พ.ศ.2520 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย “การจ่ายเงินแผ่นดินกระทำได้ก็เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ กฎหมายเกี่ยวด้วยการโอนงบประมาณ หรือ กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง”
ข้อกำหนดการจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันข้อกำหนดการจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพัน กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ อนุญาตให้จ่ายได้ มติ ครม. คำสั่ง กระทรวงการคลัง
2. ลักษณะรายจ่ายตามงบประมาณ รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ รายจ่ายงบกลาง
2.1.รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจหมายถึง รายจ่ายซึ่งกำหนดไว้สำหรับแต่ละส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะ จำแนกออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น
2.2.รายจ่ายงบกลาง หมายถึง รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจัดสรรให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยทั่วไปใช้จ่าย
3. การเบิกเงิน สถานที่เบิกเงิน ผู้เบิกเงิน วิธีการเบิกเงิน
3.1 สถานที่เบิกเงิน ส่วนกลาง กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด/อำเภอ ส่วนภูมิภาค กรมบัญชีกลางหรือสนง.คลังจังหวัด/อำเภอ ส่วนกลางแต่สนง. อยู่ภูมิภาค
3.2 ผู้เบิกเงิน การเบิกเงินกับ สนง.คลังจังหวัด/อำเภอ ส่วนราชการในภูมิภาค หน.ส่วนราชการ ผู้เบิก ผู้เบิกแทน ข้าราชการ 1 คน หน่วยงานสังกัดส่วนกลางแต่สนง.อยู่ภูมิภาค หน.หน่วยงาน ผู้เบิก ผู้เบิกแทน ข้าราชการ 1 คน
3.3 วิธีปฏิบัติในการเบิกเงิน 1. ตรวจสอบเงินประจำงวดและเบิกภายในวงเงินประจำงวด หมวดเงินเดือน ค่าจ้างประจำ เฉพาะที่เบิกกับ สนง.คลังจังหวัด/อำเภอ ยกเว้น งบกลาง เบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ เงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง ค่าทดแทนผู้ได้รับอันตราย ฯ
3.3 วิธีปฏิบัติในการเบิกเงิน (ต่อ) 2.การเบิกเงินห้ามเบิกจนกว่าจะถึง/ใกล้จะถึงกำหนดชำระเงิน 3.การเบิกเงินเบิกต้องระบุวัตถุประสงค์ 4.การเบิกเงินเบิกได้ถึงวันทำการสุดท้ายของปี งปม. 5.การเบิกเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีเบิกได้ถึงวันทำการสุดท้ายของ ระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติให้กันเงิน/ขยาย
3.3 วิธีปฏิบัติในการเบิกเงิน (ต่อ) 6.การเบิกเงินเพื่อซื้อทรัพย์สิน/จ้างทำของให้เบิกโดยเร็วอย่างช้า ไม่เกิน 5 วันทำการนับจาก วันตรวจรับทรัพย์สิน/งาน วันรับใบเบิกเงินจากหน่วยงานย่อย 7.หักภาษี ณ ที่จ่ายและส่งเป็นรายได้แผ่นดิน
คชจ.ที่ได้รับยกเว้นให้เบิกข้ามปี งปม.รายจ่าย คชจ.ที่ให้ถือเป็นรายจ่ายเมื่อได้รับแจ้งให้ชำระหนี้ คชจ.ค้างเบิกข้ามปี เงินยืมคาบเกี่ยว เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี
ค่าใช้จ่ายค้างเบิกข้ามปี • ค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ทันในปีงบประมาณที่เกิดค่าใช้จ่าย หรือภายในปีงบประมาณที่ได้ก่อหนี้หรือภายในระยะเวลาที่ได้รับการขยายเวลาเบิกจ่ายเงินจากคลัง
การเบิกเงินยืมคาบเกี่ยวการเบิกเงินยืมคาบเกี่ยว หลักเกณฑ์เป็นเงินที่เบิกไปเพื่อจ่ายให้ยืมเฉพาะ คชจ.เดินทางไปราชการไม่เกิน 60 วัน ปฏิบัติราชการอื่นไม่เกิน 15 วัน วิธีปฏิบัติ วาง ขบ.เบิกเงินของปีที่ยืม แม้จะเป็น คชจ. ของปีงปม.ใหม่
การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี กรณีมีหนี้ผูกพัน กรณีไม่มีหนี้ผูกพัน สั่งซื้อ/จ้าง/เช่า ตั้งแต่ 50,000 บาท ขึ้นไป ไม่ได้ก่อหนี้ผูกพันในปี งปม. แต่ต้องใช้เงิน คาดว่าจะเบิกจ่ายไม่ทันในสิ้นปี (30 กันยายน) ขอทำความตกลงกับ กค.
เอกสารแนบใบสั่งซื้อ/สั่งจ้างเอกสารแนบใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง สัญญาซื้อ/จ้าง/เช่า เอกสารแสดงสภาพหนี้ หนังสือแจ้งการอนุมัติของกระทรวงการคลังให้กันเงิน เอกสารจะใช้ภาพถ่ายหรือสำเนาซึ่งผู้เบิกลงลายมือชื่อรับรองก็ได้
การขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน เหตุผล เพื่อขยายเวลาเบิกจ่ายต่อจากการกันเงิน หรือเวลาที่เคยได้รับอนุมัติให้ขยายเวลาเบิกจ่ายต่อไปได้อีก วิธีปฏิบัติ ทำความตกลงกับกระทรวงการคลังก่อนพ้นกำหนดระยะเวลา
4.การจ่ายเงิน 1.มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง มติ ครม.หรือ ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง 2.เป็นรายจ่ายในการดำเนินงานตามปกติ 3.การเบิกเงินเพื่อการใดต้องจ่ายเฉพาะเพื่อการนั้นเท่านั้น 4.ผู้มีอำนาจได้อนุมัติ 5.มีหลักฐานการจ่าย
4.การจ่ายเงิน 6.ห้ามเรียกใบเสร็จรับเงิน/ให้ผู้รับเงินลงชื่อรับเงิน โดยยังมิได้จ่ายเงิน 7.ไม่มารับเงินให้ทำใบมอบฉันทะ / มอบอำนาจ 8.การโอนสิทธิเรียกร้องปฏิบัติตาม กค. 9.บันทึกการจ่ายเงินในวันที่จ่าย 10.สิ้นวันตรวจสอบ
วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน จ่ายเช็ค จ่ายเงินสด เฉพาะ การจ่ายเงินจากเงินทดรองราชการซึ่ง เก็บรักษาเป็นเงินสด การจ่ายให้ข้าราชการ ลูกจ้าง ผู้รับบำนาญ ผู้รับเบี้ยหวัด การจ่ายเงินที่มีวงเงินต่ำกว่า 2,000 บาท
วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน จ่ายผ่านธนาคาร ให้ข้าราชการ ลูกจ้าง ให้บุคคลภายนอก
การเขียนเช็ค 1. ซื้อ / เช่า / จ้าง สั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้ ขีดฆ่าคำว่า “หรือตามคำสั่ง” หรือ “หรือผู้ถือ” ออก ขีดคร่อมเช็ค
การเขียนเช็ค(ต่อ) 2. นอกจากข้อ 1. สั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้ ขีดฆ่าคำว่า “หรือตามคำสั่ง” หรือ “หรือผู้ถือ” ออก ขีดคร่อมหรือไม่ก็ได้
การเขียนเช็ค(ต่อ) 3. รับเงินสดมาจ่าย สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ขีดฆ่าคำว่า “หรือตามคำสั่ง” หรือ “หรือผู้ถือ” ออก ห้ามออกเช็คสั่งจ่ายเงินสด
หลักเกณฑ์การจ่ายในระบบ GFMIS จ่ายเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของเจ้าหนี้ของ ส่วนราชการโดยตรง จ่ายเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของส่วนราชการ กค 0409.3/ว 115 ลว. 30 กันยายน 2547
การจ่ายเงินยืม ผู้อนุมัติ ส่วนกลางหน.ส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ หน่วยงานส่วนกลางตั้งอยู่ในภูมิภาค หัวหน้าหน่วยงาน ส่วนภูมิภาค หัวหน้าส่วนราชการผู้เบิก
การส่งคืนเงินยืม 1.กรณีเดินทางไปประจำต่างสำนักงาน/กลับภูมิลำเนา ภายใน 30วันนับจากวันที่ได้รับเงิน 2.ไปราชการอื่น ภายใน 15 วันนับจากวันที่กลับมาถึง 3.นอกเหนือ 1 หรือ 2 ภายใน 30วันนับจากวันที่ได้รับเงิน
5. การนำเงินที่เบิกส่งคืนคลัง 15 วันทำการ นับจาก..... วันที่เบิกเงินจากคลัง หรือ วันที่รับเงินคืน