630 likes | 1.06k Views
การประเมินความเสี่ยง และการจัดทำแนวทางมาตรฐาน ( SOP) เพื่อการวางแผนการเตรียมความพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข. สุรศักดิ์ เกษมศิริ รพ.สำโรง อุบลราชธานี 19 กรกฎาคม 2555. การประเมินความสี่ยง (Risk Assessment). เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อการประเมิน
E N D
การประเมินความเสี่ยง และการจัดทำแนวทางมาตรฐาน (SOP)เพื่อการวางแผนการเตรียมความพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข สุรศักดิ์ เกษมศิริ รพ.สำโรง อุบลราชธานี 19 กรกฎาคม 2555
การประเมินความสี่ยง(Risk Assessment) • เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ • เพื่อการประเมิน • โอกาสและความรุนแรงของผลเสียต่อสุขภาพ • อันเนื่องจากการได้รับสัมผัสอันตรายที่เกิดจากสารเคมี เชื้อโรค ฯลฯ • S.Pravittranon
Risk Analysis Concept • Risk assessment • Scientific discipline • Risk management • Practical discipline • Political influence • Risk communication • Consumer involvement
องค์ประกอบของการประเมินความเสี่ยงองค์ประกอบของการประเมินความเสี่ยง ประกอบด้วย 4 ส่วน • การระบุอันตรายที่อาจจะเกิด(Hazard Identification) • การประเมินโอกาสที่อาจจะเกิด (Probability Assessment) • การประเมินผลกระทบของอันตราย (Impact Assessment) • การลำดับความเสี่ยง (Identify the priorities)
ขั้นตอนการระบุภัยสุขภาพและการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการระบุภัยสุขภาพและการประเมินความเสี่ยง • ประเมินบริบท & ระบุภัยสุขภาพที่มีโอกาสเกิด • ประเมินความเสี่ยงของภัยสุขภาพ (โอกาส & ผลกระทบ) • บันทึกความเสี่ยงในตารางประเมินความเสี่ยง
1. ประเมินบริบท • ภูมิประเทศ • วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี • ประวัติศาสตร์ ประชากร • ประชากรกลุ่มเสี่ยง • เศรษฐกิจ อาชีพ การคมนาคม การอุตสาหกรรม • ระบบบริการ
2. ระบุภัยสุขภาพที่มีโอกาสเกิด • Hazard • ภัยคุกคามต่อร่างกาย จิตใจ ชุมชน • เหตุการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้น และเป็นอันตราย ทั้งต่อบุคคล และสิ่งแวดล้อม • Hazard Identification • กระบวนการที่สามารถระบุ และอธิบายภัยสุขภาพ ทั้งลักษณะ ความรุนแรง ความถี่ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง พื้นที่เสี่ยง
Type of Hazard • ภัยธรรมชาติ • ภัยชีวภาพ • ภัยสารเคมี • ภัยปรมาณู • ภัยที่มนุษย์ก่อขึ้น
การระบุภัยสุขภาพที่มีโอกาสเกิดการระบุภัยสุขภาพที่มีโอกาสเกิด • บันทึกภัยสุขภาพทั้งหมดที่มีโอกาสเกิดขึ้นลงตาราง
3. ประเมินความเสี่ยงของภัยสุขภาพ • Risk => ความเสี่ยงที่จะเกิดอันตราย/ภัยสุขภาพ • ประเมินจาก • โอกาสที่จะเกิด • ผลที่ตามมา Risk = Probability x Impact
3.1 การประเมินโอกาสที่จะเกิด • Look at past history: • เคยเกิดขึ้นมาก่อนหรือไม่ • เคยเกิดบ่อยแค่ไหน • เกิดครั้งสุดท้ายมานานแค่ไหน • เมื่อประเมินแล้วว่ามีโอกาสเกิดขึ้น • โอกาสเกิดขึ้นจะมีจากน้อย ไปหามาก ตั้งแต่ 1 - 4
การประเมินโอกาสที่จะเกิดการประเมินโอกาสที่จะเกิด
การประเมินโอกาสที่จะเกิดการประเมินโอกาสที่จะเกิด • ภัยคุกคามใหม่(e.g. SARS, เชื้อโรคสายพันธุ์ใหม่) • looking at the historical data from the last 15 years may not adequately describe the risk. • เหตุการณ์ที่เคยเกิดมาแล้วมากกว่า 15 ปี (e.g., Influenza Pandemic) • ก็มีโอกาสเกิด • ผู้ประเมินควรใช้ข้อมูลที่ดีที่สุด และข้อมูลอื่นๆ(i.e., expert advice, academic journals) • ประกอบในการตัดสินใจประเมินโอกาสที่จะเกิด
3.2 การประเมินผลที่ตามมา • ประเมินทีละภัยสุขภาพ • ประเมินผลที่ตามมาจากผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากภัยสุขภาพ • Life • Physical infrastructure • Economy
ปัจจัยที่ใช้พิจารณาผลที่เกิดตามมาปัจจัยที่ใช้พิจารณาผลที่เกิดตามมา • ขอบเขต ความกว้างขวางของภัยสุขภาพ • การเสียชีวิต • การอพยพ ย้ายประชาชน • กระทบต่อระบบบริการจำเป็นพื้นฐาน • สิ่งแวดล้อมเสียหาย • เศรษฐกิจเสียหาย
การประเมินผลที่ตามมา • ผลที่ตามมาจะส่งผลกระทบจากน้อย ไปมากตั้งแต่ 1 - 4
4. บันทึกความเสี่ยงในตารางประเมินความเสี่ยง • Plot the probability and consequence determined in Step 3 on the Risk Assessment Grid
Identify the priorities Extreme High Moderate Low โอกาส No impact Limited Substantial High ผลกระทบ
สรุป • “Hazard Identification and Risk Assessment” • จะช่วยให้ เห็นภาพ โอกาสเสี่ยง ผลกระทบ ลำดับควมสำคัญของภัยสุขภาพได้ถูกต้อง ชัดเจน เป็นเหตุเป็นผล มากยิ่งขึ้น • และนำไปสู่การวางแผนรับมือกับความเสี่ยง ได้อย่างเหมาะสม
SOP (Standard Operating Procedure) • แนวทางมาตรฐาน • คู่มือการปฏิบัติงาน • เอกสารวิธีปฏิบัติงาน • ระเบียบวิธีปฏิบัติ • มาตรฐานการปฏิบัติงาน
SOP (Standard Operating Procedure) • หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร (ตัวอักษร ตัวเลข แผนผัง รูปภาพ) เพื่อใช้อ้างอิงและกำกับให้ทุกคนปฏิบัติเป็นระบบเดียวกัน • ใช้เพื่อติดตามและประเมินผล
SOP (Standard Operating Procedure) • ขั้นตอนปฏิบัติงานที่ถูกวิเคราะห์แล้วว่าถูกต้อง เหมาะสม มีความปลอดภัย และเกิดความสูญเสียทั้งวัตถุดิบ บุคลากร ทรัพยากร น้อยที่สุด ที่ทุกคนที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งเดียวกันต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดใน SOP • โดยระบุเป็นขั้นตอนการปฏิบัติงานในตำแหน่งหรือหน้าที่เฉพาะทาง • เปรียบเสมือนกฏหมายขององค์กรในการปฏิบัติงานของแต่ละตำแหน่งหน้าที่เฉพาะทาง • เพื่อให้มีแนวทางปฏิบัติงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน • เพื่อบรรลุซึ่งวัตถุประสงค์สูงสุดขององค์กร
SOP (Standard Operating Procedure) • เป็นวิธีปฏิบัติงานที่น่าเชื่อถือ ได้รับการยอมรับทางวิชาการ • อ้างอิงจากตำราวิชาการ บทความจากวารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเลคทรอนิคส์ แนวปฏิบัติในประเทศหรือระหว่างประเทศ • หากเป็นวิธีที่พัฒนาขึ้นเอง (in house) ต้องมีการทวนสอบ (validate) กับวิธีมาตรฐานหรือวิธีที่เป็นที่ยอมรับ และมีบันทึกผลการทดสอบไว้เป็นหลักฐาน • เขียนด้วยภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย • “เอกสารคุณภาพจัดทำขึ้นสำหรับให้บุคลากรในหน่วยงานอ่านและนำไปใช้ ไม่ใช่เอกสารสำหรับให้ผู้ตรวจประเมิน (auditor) นำไปใช้”
SOP (Standard Operating Procedure) • SOP ไม่ได้ถูกเขียนโดยหัวหน้าหรือผู้จัดการ • เขียนโดยหัวหน้างานเฉพาะทาง หรือผู้ที่มีความชำนาญหรือความรู้ในเรื่องนั้นมากที่สุด • SOP จะต้องถูกปรับเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้มีความทันสมัยและเหมาะสมอยู่เสมอ • RUN Number เสมอ และมีการแจ้งให้ระดับพนักงานปฏิบัติการ หรือ Technical และ Operator ทราบเสมอ
SOP (Standard Operating Procedure) • ในองค์กร มี SOP ได้หลายฉบับ ตามความเหมาะสมและรายละเอียดของงานตามความเหมาะสม • SOP หนึ่งฉบับต้องผ่านผู้กลั่นกรองหลายระดับ ตั้งแต่ ระดับ Operating leader Line Leader และ Manager เพื่อกลั่นกรองความเหมาะสมและความถูกต้องของงาน
SOP (Standard Operating Procedure) • กำหนดโครงสร้างเอกสารคุณภาพ • รูปแบบและองค์ประกอบของเอกสารคุณภาพ • การควบคุมเอกสารคุณภาพ
1.การกำหนดโครงสร้างเอกสารคุณภาพ1.การกำหนดโครงสร้างเอกสารคุณภาพ • คู่มือคุณภาพ (Quality Manual ; QM) • ระเบียบปฏิบัติ (System Procedure ; SP) • วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction ; WI / Standard Operating Procedure ; SOP) • เอกสารสนับสนุน (Supporting Document ; SD)
เอกสารควบคุม • หมายถึง เอกสารที่ได้รับการขึ้นทะเบียน และมีการปรับปรุง แก้ไข ให้ทันสมัยอยู่เสมอ มีการควบคุมการทำสำเนา แจกจ่าย เก็บรักษา ทำลาย และการนำออกจากที่ใช้งานเมื่อหมดอายุ เอกสารนี้ต้องประทับตรา “เอกสารควบคุม”สีแดง ในทุกหน้าของเอกสารแต่ละฉบับ • คู่มือคุณภาพ ระเบียบปฏิบัติ วิธีปฏิบัติงาน จัดเป็นเอกสารควบคุม
เอกสารไม่ควบคุม • หมายถึง เอกสารที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียน ไม่จำเป็น ต้องมีการปรับปรุง แก้ไข ให้ทันสมัย สามารถทำสำเนาและแจกจ่ายได้ • เอกสารสนับสนุน จัดเป็น เอกสารไม่ควบคุม
2.รูปแบบและองค์ประกอบของเอกสารคุณภาพ2.รูปแบบและองค์ประกอบของเอกสารคุณภาพ • ปกหน้า • ชื่อเอกสาร รหัส และชื่อหน่วยงาน ไม่มีรายละเอียดหัวและท้ายกระดาษ • ตารางบันทึกการแก้ไข (Amendment sheet) • แสดงประวัติการแก้ไขเอกสาร • สารบัญ • สำหรับเอกสารที่มีเนื้อหามาก • เนื้อหา • วัตถุประสงค์ คำจำกัดความ นิยาม ผู้รับผิดชอบ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ภาคผนวก
ตัวอย่างรายละเอียด รูปเล่ม • หัวกระดาษที่แสดงเอกลักษณ์ของหน่วยงาน • เช่น ชื่อหน่วยงาน สถานที่ตั้ง สังกัด • ระดับของเอกสาร ชื่อเอกสาร รหัสเอกสาร ฉบับที่ลำดับหน้า จำนวนหน้าทั้งหมด • ระบุชื่อผู้จัดทำพร้อมลายเซ็น วันที่จัดทำระบุชื่อผู้ตรวจสอบพร้อมลายเซ็น วันที่ตรวจสอบระบุชื่อผู้อนุมติใช้เอกสารพร้อมลายเซ็น วันที่อนุมัติ
ตัวอย่างรายละเอียด รูปเล่ม • ระบุวันที่ถึงกำหนดต้องทบทวนเอกสาร • โดยปกติกำหนดไว้ 1 ครั้ง ภายใน 12 เดือน • ระบุสถานะเอกสาร กรณีเป็นเอกสารควบคุม • มีการทำสำเนาหรือไม่ • มีการแก้ไขปรับปรุงหรือไม่ • มีการแก้ไขปรับปรุงไปแล้วกี่ครั้ง มีการแก้ไขปรับปรุงในเรื่องใด
ตัวอย่าง หัวกระดาษเอกสาร - บ่งบอกเอกลักษณ์ของหน่วยงาน- ระดับของเอกสารคุณภาพ ชื่อเอกสาร และ รหัสเอกสาร ครั้งที่แก้ไข - จำนวนหน้า- ชื่อผู้จัดทำเอกสาร ผู้ตรวจสอบ และผู้อนุมัติ พร้อมลายเซ็น วันที่- วันที่ถึงกำหนดทบทวน
ตัวอย่างรายละเอียด รูปเล่ม • อักษร • ใช้อักษรชนิด TH Sarabun PSK ขนาด 16 • รูปหน้า (page layout) • การวางรูปแบบแต่ละหน้าควรใช้ระบบเดียวกันทั้งหน่วยงาน หากไม่มีความจำเป็นอื่นควรมีส่วนหัวกระดาษ เนื้อความ และท้ายกระดาษ ตามรูปแบบ
ตัวอย่าง รูปแบบหน้าเอกสาร
ตัวอย่างรายละเอียด รูปเล่ม • วันที่ออกเอกสาร (Date issued) • ให้ใช้วันที่ที่อนุมัติใช้หรือ หลังจากผู้อนุมัติใช้ลงนามแล้ว ไม่เกิน1 สัปดาห์ • แก้ไขครั้งที่ (Revision No…) • เอกสารที่ออกครั้งแรกให้เป็นการแก้ไขครั้งที่ 0 เมื่อมีการแก้ไขให้นับเลขเพิ่มจากเดิม • หน้า…ของ…หน้า (page…of …)
ตัวอย่างรายละเอียด รูปเล่ม • ประวัติการจัดทำเอกสาร • แก้ไขครั้งที่ 0 วันที่ออกเอกสาร….. โดยนางสาวอมรา วงศ์พุทธพิทักษ์ • แก้ไขครั้งที่ 1 วันที่ออกเอกสาร 7 ตุลาคม 2540 โดยนางสาวอมรา วงศ์พุทธพิทักษ์ • แก้ไขครั้งที่ 2 วันที่ออกเอกสาร 24 มกราคม 2544 โดยนางปนัดดา ซิลวา • แก้ไขครั้งที่ 3 วันที่ออกเอกสาร 14 กันยายน 2550 โดยนางสุวรรณา จารุนุช
ตัวอย่างรายละเอียด รูปเล่ม
ตัวอย่างรายละเอียด รูปเล่ม
ตัวอย่างรายละเอียด รูปเล่ม • ภาษา • รายละเอียดของหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ เป็นภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาไทยที่กำกับด้วยภาษาอังกฤษในวงเล็บ • รหัสเอกสาร ให้ใช้อักษรอังกฤษเท่านั้น เช่น SOP DMSc 00 001 • กรณีจัดทำเอกสารเป็นภาษาอังกฤษ ผู้ใช้เอกสารต้องทำความเข้าใจและปฏิบัติตามได้ถูกต้อง • ในการขอรับรองคุณภาพจากหน่วยรับรองต่างประเทศ • หากใช้ภาษาไทยต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษให้ผู้ประเมินเข้าใจ
ตัวอย่างรายละเอียด รูปเล่ม • รหัสเอกสาร • SOP ที่จัดทำขึ้น ต้องมีการกำหนดรหัสเอกสาร ดังนี้ • SOP XX YY ZZZ • โดย • XX = เลขหมายสำนัก/กอง/ศูนย์ ตามเอกสาร NUMSYS สำหรับระดับกรมให้ใช้ DMSc • YY = ประเภทเอกสาร • ZZZ = ลำดับที่ของเอกสารในกลุ่ม เริ่มจาก 001
ตัวอย่างรายละเอียด รูปเล่ม • รหัสตามประเภทของ SOP • 00 Management • 01 Communicable Dz • 02 Non Communicable Dz • 03 En Oc Problem • 04 Vector borne Dz • 05 Instrument and equipment • 06 Lab • 99 Miscellaneous
องค์ประกอบของเนื้อหา • การเรียงหัวข้อเนื้อหาSOP • มีความมุ่งหมายให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดลำดับความคิดที่ต่อเนื่อง โดยเริ่มจาก • วัตถุประสงค์และขอบเขตของ SOP • ใช้สำหรับงานใด มีที่มาและเกี่ยวข้องกับเรื่องอื่นอย่างไร • คำจำกัดความ นิยาม • ผู้รับผิดชอบ ผู้ที่เกี่ยวข้อง • ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
องค์ประกอบของเนื้อหา • การเรียงหัวข้อเนื้อหาSOP • มีความมุ่งหมายให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดลำดับความคิดที่ต่อเนื่อง โดยเริ่มจาก • วัตถุประสงค์ • คำจำกัดความ นิยาม • ผู้รับผิดชอบ ผู้ที่เกี่ยวข้อง • ขั้นตอนการปฏิบัติงาน • เอกสารที่เกี่ยวข้อง • เอกสารอ้างอิง • เอกสารแนบ
1. วัตถุประสงค์ • คู่มือนี้ใช้เป็นวิธีปฏิบัติงานอะไร ให้ระบุชื่อวิธีการ เครื่องมือ • วิธีการปฏิบัติงานเรื่อง : การควบคุมโรคมือ เท้า ปาก • วัตถุประสงค์: เพื่อใช้เป็นคู่มือปฏิบัติงานการควบคุมโรคมือ เท้า ปาก กรณีเกิดการระบาดของโรค สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบ
2. คำจำกัดความ นิยาม • ศัพท์เฉพาะ หรือคำสำคัญ ที่ต้องอธิบายความหมายเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องของผู้ใช้งาน • โรคมือ เท้า ปาก ((Hand, foot and mouth disease) หมายถึง โรคที่ก่อให้เกิด มีแผลเปื่อยหลายแผลในปากและมีอาการเจ็บ พร้อมมีตุ่มน้ำพองขนาดเล็กที่ฝ่ามือ นิ้วมือฝ่าเท้า และหรือที่ก้น ในผู้ป่วย (นิยามโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย พ.ศ.2544 เพื่อการวินิจฉัยโรค) • ระบาด หมายถึง มีผู้ป่วยตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไปในสถานที่เดียวกัน • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบ หมายถึง เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ที่เกิดการระบาด ทั้งสสจ. สสอ. รพ. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3. ผู้รับผิดชอบ ผู้ที่เกี่ยวข้อง • มีบุคคลใดที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานนี้ และมีหน้าที่อะไร • วิธีการปฏิบัติงานเรื่อง : การควบคุมโรคมือ เท้า ปาก • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของ สสจ. สสอ. รพ. อปท. ที่รับผิดชอบงานควบคุมโรค • ครูอนามัยโรงเรียน ที่รับผิดชอบงานดูแลสุขอนามัยของนักเรียนในโรงเรียน
4. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน • เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยละเอียด ตามลำดับขั้น (stepwise) • ใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย • “Write What You Do And Do Write” • อาจมี รูปภาพ แผนผัง ตาราง ประกอบด้วย • ตัวอย่าง วิธีปฏิบัติงาน เรื่อง การรายงานการระบาดของไข้หวัดนก