1 / 60

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : AEC. AEC. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. CAMBODIA. ASEAN ( A ssociation of S outh E ast A sian N ations). อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. 1967 ( 2510) ก่อตั้ง ASEAN.

Download Presentation

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : AEC AEC กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  2. CAMBODIA ASEAN (Association of South East Asian Nations) อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 1967(2510) ก่อตั้ง ASEAN • 1967(2510) ก่อตั้งโดย 5 ประเทศ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ • 1984(2527) ขยายสมาชิกบรูไน ASEAN - 6 • 1995(2538) ขยายสมาชิกเวียดนาม CLMV • 1997(2540) ขยายสมาชิกลาว พม่า • 1999(2542) ขยายสมาชิกกัมพูชา รวมสมาชิก ณ ปัจจุบัน 10 ประเทศประชากร 580 ล้านคน และกำลังมุ่งสู่………….. 2015(2558)ASEAN Community (AC) ประชาคมอาเซียน

  3. ไทยอยู่ตรงไหน?? ในอาเซียน Note: Latest available data in Year 2009 Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2011

  4. เทียบกับอาเซียนไทยมีศักยภาพเป็นลำดับต้นๆเทียบกับอาเซียนไทยมีศักยภาพเป็นลำดับต้นๆ Note: Latest available data in Year 2009 Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2011

  5. ไทยมีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศเป็นอันดับ 2ในอาเซียน Note: Latest available data in Year 2009 Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2011

  6. ตลาดเก่า (EU/USA) ยังเป็นคู่ค้าสำคัญของอาเซียน อาเซียนเริ่มขยายการค้ากับประเทศคู่ค้าหลักทั้ง 6 แล้ว ในขณะเดียวกัน ตลาดเก่า อย่าง สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ยังคงมีบทบาทสำคัญทั้งด้านการค้าและการลงทุน

  7. ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ไทยส่งออกไปตลาดอาเซียนเพิ่มขึ้น 8.9% ปี 2553 ปี 2535 ASEAN 22.7% ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่งออกรวม 195,311.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)

  8. ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ไทยนำเข้าจากตลาดอาเซียนเพิ่มขึ้น 3% ปี 2553 ปี 2535 ASEAN 16.6% นำเข้ารวม 182,406.54 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)

  9. ไทยเป็นประเทศที่ต่างชาติเข้ามาลงทุนในอันดับ 3 ประเทศที่เข้ามาลงทุนในอาเซียนมากที่สุด ได้แก่ สหภาพยุโรป สหรัฐฯ และตามมาติดๆๆ อย่าง จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ได้เข้ามาลงทุนในอาเซียนเพิ่มขึ้น Note: Latest available data in Year 2009 Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2011

  10. การพัฒนาการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน Building Blocs of ASEAN Integration Bangkok Declaration ASEAN 2510 CEPT-AFTAAgreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for ASEAN Free Trade Area 2535 AFAS ASEAN Framework Agreement on Services 2538 AICO ASEAN Industrial Cooperation Scheme 2539 AIAFramework Agreement on the ASEAN Investment Area ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit 2541 ASEAN CharterASEAN Community + Declaration on AEC Blueprint 2550 ATIGA ASEAN Trade in Goods Agreement 2552 2554 ACIA ASEAN Comprehensive Investment Agreement

  11. สาขาสำคัญในการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ (Priority Integration Sectors: PIS) ประเทศผู้ประสานงาน อินโดนีเซีย ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์ไม้ มาเลเซีย ผลิตภัณฑ์ยาง สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม พม่า ผลิตภัณฑ์เกษตร ผลิตภัณฑ์ประมง สิงคโปร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ไทย การท่องเที่ยว การบิน ฟิลิปปินส์ เวียดนาม โลจิสติกส์ อิเล็กทรอนิกส์

  12. ชุมชนอาเซียน ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน(ASC) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน(AEC) ASEAN Economic Community ตารางดำเนินการStrategic Schedule ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

  13. พิมพ์เขียว AEC พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint

  14. …. มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC One Vision, One Identity, One Community

  15. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community:AEC) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) นโยบายการแข่งขัน ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา ไปลงทุนได้อย่างเสรี AEC การคุ้มครองผู้บริโภค แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (คมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน) เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs จัดทำเขตการค้าเสรี(FTA) กับประเทศนอกอาเซียน

  16. แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC Blueprint

  17. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรีเคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า 1.1 ยกเลิกมาตรการภาษี • ลดภาษีนำเข้าเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536 อาเซียน-6 ลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์ CLMV ลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์ ยกเว้น สินค้าอ่อนไหว(Sensitive List ) ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้องไม่เกิน 5% 1 มค. 2553(2010) 1 มค. 2558(2015) และสินค้าในรายการอ่อนไหวสูง(Highly Sensitive List) ให้กำหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับที่สมาชิกยอมรับได้ สินค้าอ่อนไหวสูง : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์

  18. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรีเคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC สินค้าอ่อนไหว(Sensitive List ) ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้องไม่เกิน 5% ASEAN – 6 ภายใน 1มค 2553 CLMV ภายใน 1 มค 2558

  19. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรีเคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC สินค้าในรายการอ่อนไหวสูงHighly Sensitive List ให้กำหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับที่สมาชิกยอมรับได้ สินค้า : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทยได้ชดเชย เป็นการนำเข้าขั้นต่ำ ปีละประมาณ 5.5 แสนตัน ไทยได้ชดเชย โดยฟิลิปปินส์ตกลงจะซื้อข้าวจากไทย • อย่างต่ำปีละ 3.67 แสนตัน

  20. มีไทยและมาเลเซียต้องยกเลิกในชุดที่ 1และ 2 ไทยและเวียดนามยกเลิกในชุดที่ 3 เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี แผนงานใน AEC Blueprint 1.2 ขจัดการกีดกันที่มิใช่ภาษี NTBs NTBs ชุดที่ 1 NTBs ชุดที่ 2 NTBs ชุดที่ 3 อาเซียน5 ภายใน1มค.2553(2010) ยกเลิกภายใน1มค.2551(2008) ยกเลิกภายใน1มค.2552(2009) ฟิลิปปินส์ ภายใน1มค.2555(2012) CLMV ภายใน1มค.2558(2015) NTBs : Non-Tariff Barriers

  21. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรีเคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC 1.3 การอำนวยความสะดวกทางการค้า บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย สิงคโปร์ จะเริ่มดำเนินโครงการในต้นปี 2554 ASEAN Single Window (ASW) กัมพูชา ลาว พม่า จะเข้าร่วมเป็นผู้สังเกตการณ์ (Observer) บรูไน มาเลเซีย และสิงคโปร์ ได้เริ่มดำเนินโครงการนำร่องเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 Self Certification ไทยเข้าร่วมโครงการนำร่อง เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2554

  22. เคลื่อนย้ายบริการเสรีเคลื่อนย้ายบริการเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2558 (2015) 70% 70% 70% 2. เปิดเสรีบริการ อนุญาตให้ผุ้ประกอบกิจการบริการของอาเซียน ไปทำธุรกิจโดยถือหุ้นได้อย่างน้อยถึง 70% โดยมีลำดับดำเนินการ คือ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)/ สุขภาพ / ท่องเที่ยว / การขนส่งทางอากาศ โลจิสติกส์ 51% สาขาอื่นๆ ที่เหลือทั้งหมด 51%

  23. การเปิดเสรีการค้าบริการใน ASEAN หรือ AFASคือ การลด/ยกเลิกกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าบริการในอาเซียน ข้อจำกัด/อุปสรรคต่อการเข้าสู่ตลาด • จำนวนผู้ให้บริการ • มูลค่าการให้บริการ • ปริมาณของบริการ • จำนวนของบุคคลที่ให้บริการ • ประเภทของนิติบุคคล • สัดส่วนการถือหุ้นในนิติบุคคล Market access ตัวอย่างข้อจำกัดต่อการปฏิบัติกับต่างชาติ กฎหมาย/มาตรการที่รัฐของประเทศภาคีมี การใช้บังคับ/ปฏิบัติกับผู้ให้บริการต่างชาติ แตกต่างกับผู้ให้บริการในชาติตน เช่น กฎหมายที่ดิน ข้อจำกัดด้านสัญชาติ ภาษี สัดส่วนเงินกู้ต่อทุน ทุนขั้นต่ำในการนำเงิน เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศ เป็นต้น Mode 1 Cross Border Supply Mode 2 Consumption Abroad National treatment Mode 3 Commercial Presence Mode 4 Movement of Natural Persons

  24. การจำแนกสาขาบริการและสาขาที่ไม่ใช่บริการการจำแนกสาขาบริการและสาขาที่ไม่ใช่บริการ บริการธุรกิจ บริการสื่อสารโทรคมนาคม บริการก่อสร้างและวิศวกรรมเกี่ยวเนื่อง บริการจัดจำหน่าย บริการการศึกษา บริการสิ่งแวดล้อม บริการการเงิน บริการสุขภาพและบริการทางสังคม บริการด้านการท่องเที่ยว บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และกีฬา บริการด้านการขนส่ง บริการอื่นๆ การเกษตร การประมง การทำป่าไม้ การทำเหมืองแร่ การผลิต (อุตสาหกรรม) ภาคบริการ (จำแนกตามWTO) ภาคที่ไม่ใช่บริการ

  25. เคลื่อนย้ายลงทุนเสรี แผนงานใน AEC Blueprint ACIA: ASEAN Comprehensive Investment Agreement การลงทุน1. การเกษตร2. การประมง3. ป่าไม้4. เหมืองแร่5. ภาคการผลิต(อุตสาหกรรม) 3. เปิดเสรีการลงทุน • ต้องปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง • ทบทวนความตกลงAIA ให้เป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ (เปิดเสรี คุ้มครอง ส่งเสริมอำนวยความสะดวก) • เปิดเสรี คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมการลงทุน อำนวยความสะดวกการลงทุน

  26. สาระสำคัญของACIA 26

  27. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แผนงานใน AEC Blueprint 4. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา/ออกใบอนุญาตทำงาน • ทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก ยอมรับร่วมกันเรื่อง “คุณสมบัติ” ที่เป็นเงื่อนไขการได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ นักวิชาชีพในอาเซียนประเทศหนึ่ง สามารถจดทะเบียนเพื่อประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆในการอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขานั้นๆ ปัจจุบัน ตกลงกันได้แล้ว 7 สาขา สาขาวิศวกรรม สาขาพยาบาล สาขานักสำรวจ สาขาแพทย์ สาขานักบัญชี สาขาทันตแพทย์ สาขาสถาปัตยกรรม

  28. เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียิ่งขึ้นเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียิ่งขึ้น แผนงานใน AEC Blueprint 5. การเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียิ่งขึ้น • เปิดเสรีบัญชีทุน (Capital Account) อย่างเป็นขั้นตอนและสอดคล้องกับวาระแห่งชาติ-ความพร้อมของแต่ละประเทศ หลักการ • อนุญาตให้มีมาตรการปกป้องที่เพียงพอ หรือที่จำเป็นเพื่อรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาค • ให้ทุกประเทศสมาชิกได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงจากการเปิดเสรี • ยกเลิก ผ่อนคลายข้อจำกัด “ตามความเป็นไปได้และเหมาะสม” • เพื่ออำนวยความสะดวกการจ่ายชำระเงินและโอนเงิน สำหรับธุรกรรมบัญชีเดินสะพัด หรือ Current Account Transactions • เพื่อสนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หรือ มาตรการริเริมต่างๆ ในการส่งเสริมพัฒนาตลาดทุน เปิดเสรี โดย

  29. แผนงานใน AEC Blueprint 6. ความร่วมมืออื่นๆ ยกระดับการค้าและความสามารถในการแข่งขันสินค้าอาหาร เกษตร และป่าไม้ อาหาร เกษตร และป่าไม้ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ส่งเสริมวัฒนธรรมการสร้างสรรค์ และใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง นโยบายการแข่งขัน ส่งเสริมวัฒนธรรมการแข่งขันที่เป็นธรรมในภูมิภาคและสร้างเครือข่ายหน่วยงานกำกับดูแลด้านนโยบายการแข่งขัน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาโครงข่ายการขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศและพลังงานที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนา SME พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและการปรับตัวของ SME ในอาเซียน

  30. FTA ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่ค้า AEC

  31. India อาเซียน-อินเดีย อาเซียน-จีน China อาเซียน- ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ Japan อาเซียน-เกาหลี Australia New Zealand Korea FTA ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา -- ปัจจุบัน ประเทศบวก 6 ประเทศบวก 3 สินค้า : มีผล 2549 ~ บริการ : มีผล 2550 ~ ลงทุน :ลงนาม 13 สค 52 สินค้า: ลงนาม 13 สค. 52 มีผล 1 มค. 53 บริการ/ลงทุน :กำลังเจรจา AEC อาเซียน-ญี่ปุ่น สินค้า/บริการ/ลงทุน: ลงนาม 2551 สำหรับไทย มีผล2 มิย 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 กพ 52 มีผล 1 มค. 53 สินค้า /บริการ :อาเซียนอื่นมีผลแล้วตั้งแต่ปี 50 สำหรับไทยบริการ ลงนาม 26 กพ 52 มีผล 1 มิย 52 สำหรับสินค้ามีผล 1 ตค 52 ลงทุน:ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิย.52 มีผล 31 ตค 52

  32. EU ?? Russia GCC MERCOSUR FTA ของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา – อนาคต…. AEC Mercado Comun del Surตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง Gulf Cooperation Councils บาห์เรน คูเวต โอมาน กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาเจนตินา ปารากวัย บราซิล อุรุกวัย เวเนซูเอลา

  33. CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) (ASEAN +6) EAFTA (East Asia FTA) (ASEAN +3) Australia New Zealand China Japan Korea India การขยาย FTA ของอาเซียน – อนาคต… AEC ASEAN 10 : 583 ล้านคน( 9% ของประชากรโลก ) GDP (ผลผลิตมวลรวมในประเทศ) 1,275 พันล้าน US$( 2% ของ GDP โลก) EAFTA (อาเซียน +3) : ประชากร 2,068 ล้านคน( 31% ของประชากรโลก ) GDP 9,901 พันล้าน US$ (18% ของ GDP โลก) CEPEA (อาเซียน +6) : ประชากร 3,284 ล้านคน (50% ของประชากรโลก ) GDP 12,250 พันล้าน US$ (22% ของ GDP โลก)

  34. การใช้ประโยชน์จาก AEC AEC

  35. ภาพของการลงทุนอุตสาหกรรมในอาเซียนเมื่อเข้าสู่ AEC ในห่วงโซ่การผลิต ฐานการผลิต ไม่จำเป็น ต้องอยู่ในประเทศใด ประเทศหนึ่งเพียงแห่งเดียว ฐานการผลิตจะอยู่ที่ใด ขึ้นอยู่กับ • ที่ใดจะมีความได้เปรียบสูงสุดในด้านต้นทุนของปัจจัยการผลิต หรือในด้านการตลาด • จำเป็น/ได้เปรียบมากน้อยเพียงใดที่อยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ • ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ • สภาพแวดล้อมการลงทุน รวมถึงกฏระเบียบ ข้อกำหนดของภาครัฐ กลยุทธ์สำคัญในการแข่งขัน คือการใช้ประโยชน์สูงสุดจาก “ฐานการผลิตร่วม” ใน AEC

  36. ใครบ้างที่จะได้รับผลจาก AEC ? ผู้ค้า เกษตรกร ผู้บริโภค แรงงาน ประชาชน นักธุรกิจ นักวิชาชีพ

  37. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ/ผู้ส่งออกไทย ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรคที่มิใช่ภาษีหมดไป ขยายส่งออกไปยังตลาดอาเซียนได้เพิ่มขึ้น สินค้าประเภทเดียวกันจากอาเซียน เข้ามาแข่งในไทย นำเข้าวัตถุดิบ จากอาเซียน ที่มีคุณภาพ /ราคาถูกได้ สินค้าไทยคุณภาพด้อยต้นทุนสูง จะเสียตลาด ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง คู่แข่งอาเซียนอาจใช้ประโยชน์จากตลาดใหญ่ขึ้นได้เช่นกัน ทำให้ต้นทุนของคู่แข่งก็อาจต่ำลงด้วย ตลาดใหญ่ขึ้นทำให้เกิด Economy of Scale (ผลิตมากขึ้น ต้นทุนลด)  ต้นทุนผลิตลดลง ทำธุรกิจบริการ/ ลงทุน ในอาเซียนได้อย่างเสรี ไปตั้งธุรกิจ หรือขยายบริการในอาเซียนได้ ธุรกิจคู่แข่ง จากอาเซียน เข้ามาแข่งในไทย ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  38. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับแรงงาน/นักวิชาชีพไทย แรงงานฝีมือ นักวิชาชีพสามารถไปทำงาน ในประเทศอาเซียนอื่น แรงงานฝีมือ เคลื่อนย้ายได้โดยเสรี แรงงานฝีมือจากอาเซียน จะเข้ามืทำงานในไทยได้ การเป็น AEC ทำให้ เศรษฐกิจการค้า ในอาเซียนขยายตัว หากอุตสาหกรรมไทยแข่งขันไม่ได้ การจ้างงานอาจได้รับผลกระทบ อุตสาหกรรม/ธุรกิจใทยขยายตัว  การจ้างงานเพิ่มขึ้น การจ้างงานในประเทศอาจลดน้อยลง การลงทุนเสรีใน AEC ทำให้ผู้ผลิตไทยอาจย้าย ฐานการผลิตไป CLMV ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  39. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับเกษตรกรไทย ตลาดอาเซียน มีความต้องการมากขึ้น สำหรับสินค้าเกษตรไทย ที่มีคุณภาพ ภาษีนำเข้า เป็นศูนย์หรือลดลง สินค้าเกษตรจากอาเซียนที่คุณภาพดีกว่า/ราคาถูกจะเข้ามาแข่งขัน และแย่งตลาด หากเกษตรกรไทย ไม่เตรียมรับมือ • ไทยส่งออก สินค้าเกษตรได้มากขึ้น อุปสรรคนำเข้า สินค้าเกษตรหมดไป • เกษตรกรมีรายได้ มากขึ้น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  40. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับผู้บริโภค/ประชาชนทั่วไปของไทย ภาษีเป็นศูนย์ สามารถเลือกซื้อสินค้านำเข้าจากอาเซียนที่หลากหลาย / ราคาถูกลง สินค้าไม่ได้คุณภาพ อาจเข้ามาจำหน่าย หากไม่มีการควบคุม ที่เข้มงวดเหมาะสม การเป็น AEC ทำให้ ผู้ผลิต/ ผู้ให้บริการ ในประเทศต้องปรับปรุง เพื่อให้แข่งขันได้ ทำให้สินค้าและบริการคุณภาพดีขึ้น ราคาถูกลง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

More Related