1 / 22

D isease C ontrol

D. อำเภอ ควบคุมโรค เข้มแข็ง แบบยั่งยืน ภายใต้ ระบบ สุขภาพ อำเภอ. istrict. H. ealth. 2 0 1 4. S. ystem. D isease C ontrol. ประเด็นท้าทาย / เรียนรู้ในการกำหนดงาน. อำเภอเข้มแข็งฯทำไมโรคจึงยังไม่ลด หลายกรมฯมีโครงการเรื่องอำเภอลงพื้นที่ ขอให้ บูรณา การ

kemp
Download Presentation

D isease C ontrol

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. D อำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน ภายใต้ระบบ สุขภาพ อำเภอ istrict H ealth 2 0 1 4 S • ystem Disease Control

  2. ประเด็นท้าทาย/เรียนรู้ในการกำหนดงานประเด็นท้าทาย/เรียนรู้ในการกำหนดงาน • อำเภอเข้มแข็งฯทำไมโรคจึงยังไม่ลด • หลายกรมฯมีโครงการเรื่องอำเภอลงพื้นที่ ขอให้บูรณาการ • Best practice นำไปขยายผลได้แค่ไหน • จะสร้างความกระตือรือร้นในการทำงานระดับอำเภออย่างยั่งยืนได้อย่างไร

  3. ระบบการประเมินตนเอง • อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • ภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS/DC) อำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็ง มอบรางวัล ถอดบทเรียน กรมควบคุมโรค ดีเยี่ยม ดี คัดเลือก รายงาน ดี ผ่านเกณฑ์ (คะแนน ≥ 80%) สคร. ประเมินยืนยัน พื้นฐาน ไม่ผ่านเกณฑ์ (คะแนน< 80%) ผ่านเกณฑ์ (คะแนน ≥ 80%) รายงาน ประเมินรับรองโดยใช้แบบประเมินคุณลักษณะ 5 ด้านของอำเภอเข้มแข็ง assessment online) ไม่ผ่านเกณฑ์ (คะแนน< 80%) เกณฑ์อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • พัฒนา = DHS ต่ำกว่าระดับ 3 • พื้นฐาน= DHS อย่างน้อยระดับ 3 • ดี = พื้นฐาน+ DCCD ผ่านเกณฑ์ ≥ 80% • ดีเยี่ยม = ดี + อำเภอที่ได้รับรางวัลระดับเขต จังหวัด รายงานผลประเมินตนเอง พัฒนา <ระดับ 3  ระดับ 3 รายงาน การประเมินตนเองDHS/DC ออนไลน์ Key in ผ่านเวบไซด์สำนักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค www.kmddc.go.th ประเมินตนเองโดยใช้แบบประเมิน DHS (self assessment online) อำเภอ

  4. แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (Disease Control Competent Districts: DCCD)ภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System: DHS) • อำเภอ: ทำการประเมินตนเองโดยใช้กรอบแนวคิดระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) 5 ด้าน 5 ระดับ โดยระบุบริการ essential care ผ่านอินเตอร์เน็ตบนหน้าเว็ปสำนักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค www.kmddc.go.thพร้อมแนบเอกสารแสดงผลงาน One District One Project (ODOP) หากผลการประเมินตนเองของอำเภออยู่ในระดับอย่างน้อย 3 ถือว่าอำเภอดังกล่าวเป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนระดับพื้นฐาน • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด: ประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนพื้นฐาน โดยใช้กรอบแนวคิดคุณลักษณะ 5 ด้านที่กรมควบคุมโรคกำหนดผ่านอินเตอร์เน็ตบนหน้าเว็ปสำนักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค www.kmddc.go.th หากผลการประเมินมีระดับคะแนนมากกว่าร้อยละ 80 ให้ถือว่าเป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนระดับดี • สคร.: ดำเนินการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนระดับดี โดยใช้กรอบแนวคิดคุณลักษณะ 5 ด้าน ที่กรมควบคุมโรคกำหนด เพื่อคัดเลือกอำเภอที่มีผลงานดีเยี่ยมเป็นตัวแทนเขตสคร.ถือว่าอำเภอนั้นเป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนระดับดีเยี่ยม • กรมควบคุมโรคจะมีการมอบรางวัลและเชิดชูเกียรติอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนระดับดีเยี่ยม การประเมินตนเองออนไลน์ กำหนดให้ประเมิน 2 รอบ รอบที่ 1 (15 - 25 มีค.57) รอบที่ 2 (สิ้นสุด 25 มิย.57)

  5. กรอบระบบสุขภาพอำเภอ 5X5 กรอบอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน

  6. แบบประเมินตนเอง District Health systemมี  ไม่มี

  7. คุณลักษณะที่ 1 มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

  8. คุณลักษณะที่ 2 มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ

  9. คุณลักษณะที่ 2 มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ (ต่อ)

  10. คุณลักษณะที่ 3 มีการวางแผน กำกับติดตามและประเมินผลการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

  11. คุณลักษณะที่ 4 มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม

  12. คุณลักษณะที่ 5 มีผลสำเร็จของการควบคุมโรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข 2 เรื่องและโรค/ภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่ 3 เรื่อง

  13. โรค/ภัยสุขภาพที่สำคัญโรค/ภัยสุขภาพที่สำคัญ โรค/ภัยสุขภาพตามนโยบาย • โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง • โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน • การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ • การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน • โรคมือเท้าปาก โรค/ภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่ • โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • โรคไข้เลือดออก • วัณโรคปอด • โรคมาลาเรีย • โรคเท้าช้าง • โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเป็นพิษ • โรคหนอนพยาธิ • โรคพิษสุนัขบ้า • โรคเลปโตสไปโรสิส • โรคไข้หวัดใหญ่ • โรคเรื้อน • การป้องกันเด็กจมน้ำ • การควบคุมการบริโภคยาสูบ • โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม • โรคจากการประกอบอาชีพ • โรคอหิวาตกโรค

  14. หน่วย (Setting) การดำเนินงาน

  15. รายละเอียดตัวชี้วัดผลสำเร็จของการควบคุมโรครายละเอียดตัวชี้วัดผลสำเร็จของการควบคุมโรค • โรคตามนโยบาย

  16. รายละเอียดตัวชี้วัดผลสำเร็จของการควบคุมโรครายละเอียดตัวชี้วัดผลสำเร็จของการควบคุมโรค • โรคตามนโยบาย

  17. โรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่โรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่

More Related