370 likes | 524 Views
การประชุมเชิงปฎิบัติการ โครงการปรับปรุงการเข้าถึงระบบบริการการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์และการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ปี 2557. วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมมณเฑียร สุริวงศ์ กรุงเทพมหานคร. วัตถุประสงค์การประชุม. ประสานแผนการดำเนินงานโครงการ ฯ และกิจกรรม
E N D
การประชุมเชิงปฎิบัติการโครงการปรับปรุงการเข้าถึงระบบบริการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์และการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ปี 2557 วันที่ 18พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมมณเฑียร สุริวงศ์ กรุงเทพมหานคร
วัตถุประสงค์การประชุมวัตถุประสงค์การประชุม • ประสานแผนการดำเนินงานโครงการ ฯ และกิจกรรม • แนวทางดำเนินกิจกรรม ปี 2557 และการสนับสนุน การรับคนไข้รายใหม่ ใน NAPHA EX. สถานการณ์ การเข้ารับบริการในโครงการ การรับ waiting list เข้าโครงการ การส่งเสริมการใช้ประกันสุขภาพคนต่างด้าว ในโครงการ การส่งเสริม VCT ที่ต่อยอดจาก Same Day Result และเป็น GAP ของระบบและประเทศ LOGO
วัตถุประสงค์การประชุมวัตถุประสงค์การประชุม • แนวทางการเสนอโครงการ ฯ ปี 2558 - ช่องว่างการดำเนินงาน เพื่อเสนอแผนงานและการสนับสนุนจากกองทุนโลก - คาดประมาณ target การเข้าถึงด้วย GF ยังขาดอยู่เท่าไร ประเทศจะ fill gap ได้อย่างไร - ช่องว่างด้านการเงิน - ช่องว่าง HR, Infrastructure - สิ่งที่จะต้องดำเนินการต่อ ควรเป็นกิจกรรมที่มีนวัตกรรมนำไปสู่ getting 3 zeros ได้จริง LOGO
แนวทางการดำเนินงาน กิจกรรมและการประสาเครือข่ายปี 2557 LOGO
โครงการการปรับปรุงการเข้าถึงระบบบริการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ และการรักษาด้วยยาต้านไวรัสระยะ SSF ปีที่ 3 (ปี 2557) สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทาเพศสัมพันธ์ 18 พฤศจิกายน 2556
แผนและสถานะการดำเนินงานโครงการปีที่ 11 • กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่อยู่นอกสิทธิระบบหลักประกันสุขภาพต่างๆ และกลุ่มทีเข้าถึงยาก จำนวน 2,700 ราย (ต่อเนื่องจากปีที่ 10) • ระยะเวลาการดำเนินงาน SSF คือ ระยะเวลา 3 ปี พ.ศ. 2555-2557 • งบประมาณปี 2557 : ที่ได้รับตามแผน 2,135,832.48 USD หรือ 64,074,974.40 บาท • สถานะการดำเนินงาน • มีการลงนามร่วมกันระหว่าง PR และ BATS เป็นที่เรียบร้อยแล้วและ ขณะนี้รอการสนับสนุนงบประมาณการดำเนินโครงการ - อยู่ระหว่างดำเนินการอนุมัติการดำเนินโครงการภาพรวมจากกรมควบคุมโรค - เตรียมการลงนาม RPGA ร่วมกับหน่วยงานร่วมดำเนินโครงการระดับพื้นที่
กิจกรรม : ระดับพื้นที่ (สคร. และ กทม.)
การรายงาน รายงานผลการดำเนินงาน 1. รายงานผลการดำเนินงาน ราย 2 ไตรมาส เป็นผลการดำเนินงานกิจกรรม ประกอบด้วย ครั้งที่ 1รายงานของไตรมาสที่ 9 – 10 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) ครั้งที่ 2 รายงานของไตรมาสที่ 11 – 12 (เมษายน 2557 – กันยายน 2557) 2. รายงานสรุปผลการดำเนินงานและรายงานทางการเงินและบัญชีประจำปี (Annual Report)ที่หน่วยงานได้ดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นแล้ว ภายในปีงบประมาณ 2557 เสนอสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพื่อทราบ
การรายงาน รายงานด้านการเงิน เป็นการรายงานด้านการเงินเทียบการดำเนินรายกิจกรรมภายใต้โครงการในปีงบประมาณ 2557 ที่ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคและสำนักอนามัย กทม. นำส่งต่อ สำนักโรคเอดส์ ฯ ทุก ไตรมาส
งบประมาณที่ร่วมดำเนินการในระดับพื้นที่ ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 - 30 กันยายน 2556 )
กลุ่มเป้าหมาย • กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่อยู่นอกสิทธิระบบหลักประกันสุขภาพต่างๆ ทั้งกลุ่มที่เคยและ ไม่เคยรับยาต้านไวรัส จำนวน 2,700 ราย เช่น กลุ่มคนไทยที่รอพิสูจน์สิทธิ กลุ่มคนไทยพลัดถิ่น กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มแรงงานข้ามชาติที่มีหลักประกันสุขภาพ กลุ่มผู้อพยพด้วยสาเหตุต่างๆ กลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจำ เป็นต้น
ปรับเกณฑ์การเริ่มยาต้านไวรัสให้สอดคล้องกับแนวทางการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสของประเทศเริ่มการรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีเมื่อมี CD4 ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 350 cell/cu.mm
Service Package for Laboratory • หมายเหตุ : สนับสนุนการตรวจในราย • ตรวจก่อนเข้าโครงการ • หลังรับยาต้านไวรัสในโครงการ
โครงการส่งเสริมการเข้าถึงการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้ายและกลุ่มเข้าถึงยาก(Mobile Population VCT )
Objective : สร้างและผลักดันกลไกการทำงานในบริบทของพื้นที่ รวมถึงพัฒนากลวิธีการจัดระบบบริการในกลุ่มประชากรเป้าหมาย : ส่งเสริมการเข้าถึงบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้าย กลุ่มเข้าถึงยากและกลุ่มที่มีข้อจำกัด รวมถึงประชาชนทั่วไป ให้สามารถเข้าถึงบริการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีเพื่อการป้องกัน การดูแลรักษา และการส่งต่อรับบริการสวัสดิการต่างๆที่เหมาะสม
การดำเนินงาน การสนับสนุนจากโครงการกองทุนโลก เริ่มดำเนินการส่งเสริมการเข้าถึงบริการปรึกษา ฯ ในปี 2549 -2552 ในทุกกลุ่มประชากร ตามบริบทของพื้นที่และหน่วยบริการ ดำเนินการต่อเนื่อง ปี 2552 - 2554 และ 2555 -2557 โดยเน้นการทำงานในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้ายและกลุ่มเข้าถึงยาก
เป้าหมาย หน่วยบริการสุขภาพที่เข้าร่วมโครงการได้มีการปรับระบบบริการ ฯ จากแบบตั้งรับไปสู่การบริการเชิงรุกทั้งภายในและภายนอกหน่วยบริการสุขภาพมากขึ้นเกิดการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินการส่งเสริม ฯรวมถึงการจัดรูปแบบบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับการระบาดของเชื้อและบริบทของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละพื้นที่ กลุ่มเป้าหมายที่มีกลไกการส่งเสริมการเข้าถึงบริการปรึกษา ฯ 1. กลุ่มประชากรเคลื่อนย้าย ทั้งคนไทยและต่างด้าว เช่น แรงงานไทยทำงานเคลื่อนย้าย แรงงานไทยที่ห่างสิทธิ แรงงานต่างด้าว กลุ่มประมง เป็นต้น 2. กลุ่มที่เข้าถึงยาก อาทิ กลุ่มที่มีอุปสรรคในการเข้าถึงบริการด้วยสาเหตุต่าง ๆ จากถิ่นที่อยู่ การประกอบอาชีพ ฯลฯ เช่น กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ต้องขัง กลุ่มผู้ใช้ยา และกลุ่มพนักงานบริการ วัยรุ่น / MSM และ กลุ่ม VCT เมือง
Main Act - MPVCT • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาปัจจัยที่นำสู่ความสำเร็จในการส่งเสริม การเข้าถึงบริการปรึกษาฯ ในประชากรเคลื่อนย้ายและเข้าถึงยาก รวมถึงเพิ่มศักยภาพหน่วยบริการสุขภาพในการจัดบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีแบบทราบผลในวันเดียว จากประสพการณ์ของหน่วยงานร่วมดำเนินงานในพื้นที่ระหว่างปี 2553-2556 โดยกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ บุคลากรจากหน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 46 แห่ง บุคลากรจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานป้องกันควบคุมโรค 12 เขต และกรุงเทพมหานคร • สนับสนุนงบประมาณสำนักงานป้องกันควบคุมโรค และกรุงเทพมหานคร ในการถ่ายทอดรูปแบบการส่งเสริมการเข้าถึงการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้ายและกลุ่มเข้าถึงยาก จากหน่วยงานที่เป็นต้นแบบระดับเขต สู่การขยายและการบูรณาการแก่หน่วยงานเครือข่ายในพื้นที่
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการติดตามและการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อต่อยาต้านไวรัสในประเทศไทย (Strengthening the monitoring and prevention system for HIV drug resistance-EWI)
แผนการดำเนินงาน • การวิเคราะห์และนำข้อมูลเบื้องต้นจากข้อมูล NAP ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อติดตามตัวชี้วัดฯ • การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและใช้ฐานข้อมูล NAP เพื่อประมวลผลสำหรับการติดตามตัวชี้วัดฯ • สร้างเสริมแนวทางการผสานการดำเนินงานการเก็บข้อมูลเพื่อการติดตามตัวชี้วัดฯ เข้าไปในระบบบริการปกติ • พัฒนารูปแบบกิจกรรมการป้องกัน HIVDR โดยการติดตามตัวชี้วัดฯ • พัฒนาแนวทางการป้องกันการเกิดปัญหาเชื้อเอชไอวีดื้อยา • สร้างเสริมความสามารถและศักยภาพของในระดับเขต และจังหวัด เพื่อการวิเคราะห์ตัวชี้วัดฯ • การพัฒนาฐานข้อมูลเชื้อเอชไอวีดื้อยา เพื่อเป็นข้อมูลอ้างอิงในอนาคต • การติดตามความชุกเชื้อเอช ไอ วี ที่ดื้อยาต้านไวรัสก่อนเริ่มรับการรักษา และติดตามอุบัติการณ์การเกิดเชื้อไอวีดื้อยาในผู้เริ่มรับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (Cohort 2013)
กิจกรรมระดับเขต • สร้างเสริมศักยภาพของในระดับโรงพยาบาล จังหวัด และเขต เพื่อการวิเคราะห์ตัวชี้วัดฯ • การพัฒนาทีมระดับโรงพยาบาล จังหวัด และเขต เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูล EWI • การพัฒนารูปแบบการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อต่อยาต้านไวรัสในแต่ละเขต • การเพิ่มศักยภาพการดำเนินงานของหน่วยบริการสุขภาพ ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้ยา • การติดตามความชุกเชื้อเอช ไอ วี ที่ดื้อยาต้านไวรัสก่อนเริ่มรับการรักษา และติดตามอุบัติการณ์การเกิดเชื้อไอวีดื้อยาในผู้เริ่มรับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (Cohort 2013)