250 likes | 495 Views
มกราคม 2557. (ปี 2555). เหตุผลและความจำเป็น. เหตุผลและความจำเป็น 1. เพื่อใช้เป็นท่าเรือขนส่งสินค้าหรือวัตถุดิบในพื้นที่สู่แหล่งผลิตหรือแหล่งบริโภคภายในประเทศ 2. เพื่อเชื่อมโยงโครงข่ายการขนส่งทางน้ำของชายฝั่งอ่าวไทย อันจะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการขนส่ง
E N D
เหตุผลและความจำเป็น เหตุผลและความจำเป็น 1. เพื่อใช้เป็นท่าเรือขนส่งสินค้าหรือวัตถุดิบในพื้นที่สู่แหล่งผลิตหรือแหล่งบริโภคภายในประเทศ 2. เพื่อเชื่อมโยงโครงข่ายการขนส่งทางน้ำของชายฝั่งอ่าวไทย อันจะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการขนส่ง 3. เพื่อให้เกิดการเชื่อมต่อการขนส่งทางทะเลระหว่างอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ความสำคัญหลัก เป็นท่าเรือที่รองรับการขนส่งสินค้า หรือวัตถุดิบทั้งในปัจจุบันและในอนาคต จากพื้นที่ถึง Gateway ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือกรุงเทพหรือท่าเรือสงขลา แทนการขนส่งทางถนนซึ่งจะช่วยลดต้นทุนขนส่ง กรุงเทพ แหลมฉบัง 1 2 3 1 สงขลา
ความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ต่างๆความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ต่างๆ ยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม ยุทธศาสตร์กระทรวง คมนาคม ยุทธศาสตร์ กรมเจ้าท่า ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับเปลี่ยน รูปแบบการขนส่ง ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบ โลจิสติกส์การขนส่ง ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพการขนส่งทางน้ำ ให้สามารถแข่งขันได้ ท่าเรือชุมพร
ยุทธศาสตร์ของท่าเรือชุมพรยุทธศาสตร์ของท่าเรือชุมพร แผนการพัฒนาท่าเรือชุมพร แผนปัจจุบัน พัฒนาเป็นท่าเรือเพื่อการขนส่งภายในประเทศโดยมีบทบาทคือ 1. เพื่อใช้เป็นท่าเรือขนส่งสินค้าหรือวัตถุดิบในพื้นที่สู่แหล่งผลิตหรือแหล่งบริโภคภายในประเทศ 2. เพื่อเชื่อมโยงโครงข่ายการขนส่งทางน้ำของชายฝั่งอ่าวไทย อันจะทำให้ประสิทธิภาพในการขนส่งเพิ่มขึ้น โดยระดับความลึกของร่องน้ำจะอยู่ที่ประมาณ 5 – 10 เมตร ซึ่งจะรองรับเรือ ได้แก่ - เรือบรรทุกสินค้าทั่วไป ขนาดประมาณ 3,000 เดทเวทตัน - เรือ Ro – Ro บรรทุกรถเทรลเลอร์ น้ำมันปาล์ม ขนาดประมาณ 2,000 เดทเวทตัน - เรือบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ ขนาด 500 – 750 TEU - เรือบรรทุกน้ำมันปาล์มขนาด 9,000 เดทเวทตัน กรุงเทพ แหลมฉบัง 1 2 สงขลา
ยุทธศาสตร์ของท่าเรือชุมพร (ต่อ) แผนระยะยาว พัฒนาบทบาทในการเป็นท่าเรือที่ทำการขนส่งระหว่างประเทศ โดยมีบทบาทคือ 1.ส่งออกสินค้าหรือวัตถุดิบจากในพื้นที่ไปยังอาเซียนหรือเอเชียตะวันออก 2. เชื่อมโยงการขนส่งระหว่าง Gateway หลักของประเทศคือท่าเรือกรุงเทพกับประเทศในกลุ่ม BIMSTEC (บังคลาเทศ ,ศรีลังกา ,อินเดีย ,ไทย พม่า ,เนปาล ,ภูฏาน) 3. พัฒนาเป็น Land Bridge ที่เชื่อมต่ออ่าวไทยและทะเลอันดามันผ่านท่าเรือชุมพรและท่าเรือระนอง โดยจะเป็นการเชื่อมต่อระหว่าง อาเซียนและเอเชียตะวันออก กับประเทศในกลุ่ม BIMSTEC) กรุงเทพ แหลมฉบัง BIMSTEC 2 3 1 เอเชียตะวันออก , อาเซียน
ประเภทสินค้า ประเภทสินค้าที่ขนส่งผ่านท่าเรือชุมพร แผนปัจจุบันพัฒนาเป็นท่าเรือเพื่อการขนส่งภายในประเทศ สินค้าขาออก >>> ผลผลิตในพื้นที่ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา และกาแฟ และสินค้าอุตสาหกรรม สินค้าขาเข้า >>> สินค้าเพื่อการอุปโภค-บริโภคในพื้นที่ แผนระยะยาวเพิ่มบทบาทของการเป็นท่าเรือขนส่งระหว่างประเทศ สินค้าขาออก >>> ผลผลิตในพื้นที่ สินค้าอุตสาหกรรม และสินค้าที่ขนส่งผ่าน Land Bridge สินค้าขาเข้า >>> สินค้าเพื่อการอุปโภค-บริโภคในพื้นที่ และสินค้าที่ขนส่งผ่าน Land Bridge ทั้งที่มาจากต่างประเทศและที่มาจากท่าเรือกรุงเทพและท่าเรือแหลมฉบัง
ปริมาณผลผลิตของจังหวัดชุมพรปริมาณผลผลิตของจังหวัดชุมพร
สถานการณ์สินค้า เป็นปัจจัยที่บ่งบอกถึงเส้นทางการขนส่งที่เกิดขึ้นหรือคาดว่าจะเกิดขึ้น
รูปแบบการขนส่งปัจจุบันรูปแบบการขนส่งปัจจุบัน
เส้นทางการขนส่งของท่าเรือชุมพรเส้นทางการขนส่งของท่าเรือชุมพร
ต้นทุนในการขนส่ง • ที่มา : กระทรวงคมนาคม
เปรียบเทียบต้นทุน ตัวอย่าง เปรียบเทียบการขนส่งยางพารา 1,000 ตัน จากชุมพรไปยังท่าเรือแหลมฉบังโดยการขนส่งทางถนนและทางน้ำ ดังนี้
ปริมาณสินค้าผ่านเข้า-ออกท่าเรือชุมพรปริมาณสินค้าผ่านเข้า-ออกท่าเรือชุมพร • ปริมาณสินค้าขาออก • หน่วย : ตัน
ผลประโยชน์โครงการ ผลประโยชน์ของโครงการจะประกอบไปด้วยผลประโยชน์ทางการเงินและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ดังนี้
ดัชนีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจดัชนีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
ผลประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องจากการมีโครงการผลประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องจากการมีโครงการ เกิดการจ้างงานในพื้นที่ ลดการขาดดุลการค้าเนื่องจากลดการนำเข้าน้ำมัน ผลประโยชน์ ของโครงการ เกิดการเติบโตในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
แผนดำเนินการและงบประมาณ • ระยะเวลาดำเนินการ • พ.ศ. • 2549 ศึกษาและสำรวจออกแบบ (EIA) • 2556 – 2558 ศึกษาทบทวนฯ และสำรวจออกแบบรายละเอียดรวมทั้งศึกษา EHIA (ได้รับงบประมาณปี 2556-2558 จำนวน 58.90 ลบ.) • 2559-2562 ก่อสร้าง • 2563 เปิดให้บริการ
ทำเลที่ตั้งท่าเรือ ที่ตั้ง แหลมคอกวาง ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพร โครงข่ายการคมนาคม ระยะทางจากท่าเรือถึงโครงข่ายคมนาคม ทางหลวงสาย 4 : 19 กิโลเมตร ท่าเรือระนอง : 146 กิโลเมตร ทางรถไฟและสถานีวิสัย : 38 กิโลเมตร
รูปภาพจำลองท่าเรือชุมพรรูปภาพจำลองท่าเรือชุมพร • งานผลการศึกษาเดิมในเบื้องต้นที่ปรึกษาได้เสนอให้เปิดบริการขนส่งสินค้าด้วยเรือ Container Feeder และเรือ Ro-Ro ในเรื่องที่สำคัญๆ ได้แก่ การให้บริการขนส่งตู้คอนเทนเนอร์โดยเรือ Container Feeder (lift-on lift-off) ที่ท่าเรือชุมพร เพื่อเชื่อมโยงกับเส้นทางท่าเรือกรุงเทพ - ท่าเรือแหลมฉบังและ/หรือเส้นทางท่าเรือแหลมฉบัง – ท่าเรือสิงคโปร์ • ผลงานปัจจุบันกรมฯ ได้รับงบประมาณ 2556-2558 เพื่อศึกษาทบทวนฯ รวมทั้ง EHIA
ผังโครงสร้างของท่าเรือชุมพร (ผลการศึกษาปี 2549) 1. ท่าเรือบรรทุกสินค้าตู้และท่าเรือสินค้าทั่วไป ขนาด 35 x 305 ตร.ม. จำนวน 1 ท่า 2. ท่าเทียบเรือบรรทุกสินค้าทั่วไปขนาด 1,000-5,000 DWT จำนวน 1 ท่า 3. ลานขนถ่ายตู้สินค้าซึ่งเป็นพื้นที่การทำงานของ Quayside Gantry Crane กว้าง 30 ม. ยาว 180 ม. 4. ลานกองตู้สินค้า ขนาด 9,828 ตร.ม. 5. อาคารสถานีตู้สินค้า พื้นที่ประมาณ 1,200 ตร.ม. 6. โรงซ่อมและล้างตู้คอนเทนเนอร์ 7. อาคารพักสินค้าทั่วไป พื้นที่ประมาณ 1,584 ตร.ม. 8. ท่าเรือ Ro-Ro ขนาด 34x120 ตร.ม. ทางลาดคอนกรีตเสริมเหล็กบนเสาเข็มขนาด 34 x 37 ตร.ม. และ ลานจอดรถบรรทุกถังน้ำมันปาล์มจำนวน 64 คัน 9. ท่าเรือน้ำมันปาล์ม ขนาด 34 x 120 ตร.ม. สำหรับจอดเรือบรรทุกสินค้าเหลวขนาด 9,000 DWT