1 / 12

ไดโอด ( DIODE )

ไดโอด ( DIODE ). สมาชิกในกลุ่ม 1.นาย ภาคภูมิ เกาะสระน้อย 47219589 2.นาย ศักด์ชัย ธนูทอง 47219688 3.นาย สุรเชษฐ์ ใจเพ็ชร์ 47219720. ไดโอด ( DIODE ). การผลิตไดโอด สัญลักษณ์และโครงสร้าง การนำไฟฟ้า การนำไปใชงาน . ไดโอด ( DIODE ). ชนิดของไดโอด

khuyen
Download Presentation

ไดโอด ( DIODE )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ไดโอด (DIODE) สมาชิกในกลุ่ม 1.นาย ภาคภูมิ เกาะสระน้อย 47219589 2.นาย ศักด์ชัย ธนูทอง 47219688 3.นาย สุรเชษฐ์ ใจเพ็ชร์ 47219720

  2. ไดโอด (DIODE) • การผลิตไดโอด • สัญลักษณ์และโครงสร้าง • การนำไฟฟ้า • การนำไปใชงาน

  3. ไดโอด (DIODE) • ชนิดของไดโอด ไดโอดที่ทำจากสารกึ่งตัวนำแบ่งได้ตามชนิดของเนื้อสารที่ใช้ เช่น เป็นชนิดเยอรมันเนียม หรือเป็นชนิดซิลิกอน นอกจากนี้ไดโอดยังแบ่งตามลักษณะตามกรรมวิธีที่ผลิตคือ 1. ไดโอดชนิดจุดสัมผัส (Point-contact diode) ไดโอดชนิดนี้เกิดจากการนำสารเยอรมันเนียมชนิด N มาแล้วอัดสายเล็ก ๆ ซึ่งเป็นลวดพลาตินั่ม (Platinum) เส้นหนึ่งเข้าไปเรียกว่า หนวดแมว จากนั้นจึงให้กระแสค่าสูง ๆ ไหลผ่านรอยต่อระหว่างสายและผลึก จะทำให้เกิดสารชนิด P ขึ้นรอบ ๆ รอยสัมผัสในผลึกเยอรมันเนียมดังรูป

  4. ไดโอด (DIODE) • ชนิดของไดโอด 2. ไดโอดชนิดหัวต่อ P-N (P-N junction diode) เป็นไดโอดที่สร้างขึ้นจากการนำสารกึ่งตัวนำชนิด N มาแล้วแพร่อนุภาคอะตอมของสารบางชนิดเข้าไปในเนื้อสาร P ขึ้นบางส่วน แล้วจึงต่อขั้วออกใช้งาน ไดโอดชนิดนี้มีบทบาทในวงจรอิเลคทรอนิคส์ และมีที่ใช้งานกันอย่างแพร่หลาย

  5. ไดโอด (DIODE) • การผลิตไดโอด ไดโอดเกิดจากการนำสารกึ่งตัวนำชนิด n-type และ p-type มาต่อกัน ซึ่งจุดที่สารกึ่งตัวนำทั้งสองสัมผัสกันเรียกว่า รอยต่อ (Junction)

  6. ไดโอด (DIODE) • จากปรากฏการณ์นี้จึงทำให้พื้นที่หรือชั้นของรอยต่อซึ่งประกอบขึ้นจากประจุไฟฟ้าบวกด้านหนึ่ง และประจุไฟฟ้าลบอีกด้านหนึ่ง ซึ่งชั้นของรายต่อที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า "Depletion Region"

  7. ไดโอด (DIODE) • ประจุไฟฟ้าบวก และประจุไฟฟ้าลบที่บริเวณรอยต่อนี้จะมีศักย์ไฟฟ้าสะสมในตัวระดับหนึ่งและเนื่องด้วยประจุทั้งสองมีขั้วตรงกันข้ามกัน จึงทำให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้าปรากฏคร่อมรอยต่อ ซึ่งความต่างศักย์ไฟฟ้านี้มีชื่อเรียกว่า กำแพงศักย์ไฟฟ้า (Barrier Potential) หรือ กำแพงแรงดันไฟฟ้า (Barrier Voltage)

  8. ไดโอด (DIODE) • โครงสร้างสัญลักษณ์

  9. ไดโอด (DIODE) • การนำไฟฟ้า

  10. ไดโอด (DIODE) • การนำไฟฟ้า

  11. ไดโอด (DIODE) • การนำไปใช้งาน การนำไปใช้งานของไดโอดนั้นมีมากมายหลายอย่าง เช่น วงจรเร็กติไฟเออร์ เป็นต้น คือวงจรแปลงไฟแรงดันกระแสสลับให้เป็นไฟแรงดันกระแสตรง

  12. จบการนำเสนอ

More Related