370 likes | 783 Views
Multiple Intelligence. ดร.รังสรรค์ โฉมยา (คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม). “โลกมีไว้เหยียบ ไม่ใช่มีไว้แบก” นิรนาม. “สิ่งใดที่ฉันไม่มี ฉันไม่ต้องการ” ซีนีแอด โอ คอนเนอร์. พหุปัญญา.
E N D
Multiple Intelligence ดร.รังสรรค์ โฉมยา (คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
“โลกมีไว้เหยียบ ไม่ใช่มีไว้แบก” นิรนาม “สิ่งใดที่ฉันไม่มี ฉันไม่ต้องการ” ซีนีแอด โอ คอนเนอร์
พหุปัญญา Howard Gardner เสนอว่าคนจะฉลาดจะต้องประกอบด้วยเชาว์ปัญญา 8 ประการ คือ 1.การใช้ภาษา (Verbal/Linguistic) การอ่าน การพูด การฟัง 2.การใช้เหตุผลและการคำนวณ (Logical/Mathematical) การทำงานด้านตัวเลข การคำนวณ การคิดเชิงปริมาณ การคิดแบบนามธรรม
3.การรับรู้เกี่ยวกับภาพ (Visual/Spatial) การสร้างภาพ การแปลความหมายรูปภาพ การสร้างแผนผังแนวคิด กรอบความคิด การจินตนาการ การเขียนภาพ 4.ความสามารถด้านการเล่นดนตรี (Musical/Rhythmic) การใช้จังหวะ ทำนอง การเล่นดนตรี ร้องเพลง เต้นรำ 5.การเคลื่อนไหวทางด้านร่างกาย (Bodily/Kinesthetic) การรับรู้ผ่านทางประสาทสัมผัส การเคลื่อนที่ไปมา การเล่นกีฬา
6.ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น (Interpersonal) ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ การทำงาน ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ความรู้สึกร่วม 7.ความเข้าใจในความรู้สึกของตนเอง (Intrapersonal) การทำงานคนเดียว การเรียนรู้ตามความสามารถของตน การรับรู้เกี่ยวกับตนเอง การสร้างโครงงานด้วยตนเอง 8.ความเข้าใจในธรรมชาติ (Naturalist) การใช้เวลานอกสถานที่ การจัดกลุ่ม การสังเกต การแบ่งประเภทสิ่งที่พบ
พหุปัญญากับผู้สอน • สังเกตว่านักเรียนมีเชาว์ปัญญาแบบใด • จัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้นักเรียนได้ไช้เชาว์ปัญญา • ไม่ควรเน้นการใช้ภาษาและเหตุผลเพียงอย่างเดียวในการสอน ต้องจัดการสอนอย่างหลากหลาย • ติดตามเก็บข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน เพื่อหาจุดแข็ง จุดอ่อน • กำหนดเป้าหมายที่จะพัฒนานักเรียน • สอนและพัฒนานักเรียนใหัครอบคลุมพหุปัญญาทั้ง 8 ด้าน
สิ่งสำคัญ • ผู้สอนคุ้นเคยกับแบบการสอนและพหุปัญญามาก จะสามารถจัดการเรียนรู้ได้ตรงกับลักษณะนักเรียนมาก • ผู้สอนอาจจะไม่ชอบวิธีการสอนบางอย่าง แต่เป็นความจำเป็นและความต้องการของนักเรียน • ทางเลือกที่จะจัดการเรียนการสอนมีมากแบบ ควรจัดให้หลากหลาย • ผู้สอนต้องเก็บข้อมูลนักเรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนา • นักเรียนจะรู้สึกท้าทายและมั่นใจมากขึ้นเมื่อได้รับการสอนหลากหลายแบบ
ผู้สอนต้องยอมรับว่านักเรียนมีเชาว์ปัญญา และแบบการเรียนแตกต่างกัน • การเรียนรู้บางอย่างอาจจะไม่เหมาะกับนักเรียนบางคน • ผู้สอนต้องรู้จักนักเรียนให้มากที่สุด • วางแผนการสอนให้ครอบคลุมแบบการเรียน เชาว์ปัญญาและความชอบของนักเรียน • ผู้สอนต้องเรียนรู้ที่จะเปลี่ยนและพัฒนาตนเองในการสอนแบบหลากหลาย
การใช้ภาษา • การอ่าน • การสะกดคำ • การเขียน • การฟัง • การเล่าเรื่อง • การทบทวนความจำ • การใช้ภาษา • การพูด • การอภิปราย • การบรรยายลักษณะ • การใช้ตัวช่วยจำ • การเชื่อมโยงความจำ
การใช้เหตุผลและการคำนวณการใช้เหตุผลและการคำนวณ • การใช้ตัวเลขและจำนวน • การตีความเชิงปริมาณ • การคำนวณ • การพิสูจน์ • ตรรกศาสตร์ • การแปลความข้อมูล • การใช้สถิติ • การสร้างรูปแบบ • การเขียนแผนภูมิ • การจัดลำดับความสำคัญ • การสร้างสิ่งช่วยจำ • การวิเคราะห์ • การคิดเชิงนามธรรม • การคิดแบบวิเคราะห์ • สมการและการแก้
การรับรู้เกี่ยวกับภาพการรับรู้เกี่ยวกับภาพ • การอ่านภาพ แผนภูมิ • การศึกษาภาพ • การสร้างภาพ • การวาดภาพ • การสร้างแผนภูมิ • การออกแบบ • การทำโปสเตอร์ • การสร้างผังความคิด • ออร์แกนไนเซอร์ • วีดีทัศน์ • การกำหนดรหัสสี • การสร้างจุดเน้น • การแปลภาพ • การใช้สี
ความสามารถด้านดนตรี • การร้องเพลง • การเคาะจังหวะ • การเต้น การวางท่าทาง • การเชียร์ • การทำเสียง สร้างเสียง • การใช้เสียง • การพึมพำ • การบอกชนิดของเสียง • การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ • การฟังเสียง • การแต่งเพลง • การเล่นดนตรี • การแยกแยะเสียง
การเคลื่อนไหวทางด้านร่างกายการเคลื่อนไหวทางด้านร่างกาย • การเล่นบทบาทสมมุติ • การเดิน วิ่ง จังหวะ • การเต้นรำ ระบำ • การร้องเพลงคลอการเคลื่อนไหว • การเดินรอบ การแสดงท่าทาง (เช่น เก้าอี้ดนตรี) • การสร้างสิ่งของ • การคำนวณจังหวะ • ภาษาสัญญลักษณ์และการเคลื่อนไหว • การเล่นกีฬา • การจัดศูนย์กิจกรรม • กิจกรรมเข้าจังหวะ • การใช้ภาษาท่าทาง
ความสัมพันธ์กับผู้อื่นความสัมพันธ์กับผู้อื่น • การคิดเดี่ยว จับคู่คิด และการคิดแบบกลุ่ม • การต่อภาพ จิ๊กซอร์ • การจับกลุ่มร่วมมือ • การเล่นละคร • การโต้วาที • การพบชั้น • บทบาทสมมุติ • กิจกรรมใจประสานใจ • เพื่อนแนะนำเพื่อน • การติวเพื่อน • การแลกกันอ่านไดอารี่ หรือบันทึก • การใช้ Feed Back • การสื่อสารในกลุ่ม
การเข้าใจตนเอง • การรู้คิด • การพูดกับตนเอง • การให้กำลังใจตนเอง • การแก้ปัญหาด้วยตนเอง • การเข้าใจตนเอง • การเขียนบันทึกประจำวัน ไดอารี่ • การสังเกตตนเอง • การพัฒนาตนเอง • การซ้อมพูด • การนำเสนอด้วยการพูด • การใช้ความรู้เดิม • การฝึกการเชื่อมโยง • การรู้จักการเป็นเจ้าของ (ตนเอง คนอื่น)
ความเข้าใจธรรมชาติ • การติดป้ายเรื่องต่างๆ • การแบ่งประเภท • การจัดกลุ่ม • การระบุชนิดของสิ่งใดๆ • การตั้งสมมุติฐาน • การทำการทดลอง • การปรับปรุงสิ่งเดิมให้ดีขึ้น • การสร้างสิ่งของจากวัสดุ • การแยกชนิด • การสำรวจ • การศึกษาธรรมชาติ • การวิเคราะห์รูปแบบของสิ่งใดๆ
Contact Me Dr.Rungson Chomeya Education Psychology Department Faculty of Education, Mahasarakham University Mahasarakham Province 44000 Tel.0 4374 3143 # 116 Fax.0 4372 1764 Mobile.0 1263 6980 rungson.c@msu.ac.th http://edu.msu.ac.th/edunew/M_psychology/rungson/