410 likes | 679 Views
Business Plan. Business Plan. Business Plan . Business Plan. 28 ส.ค. ,2 ก.ย. 49. CRM. รุ่นที่ 2. ก้าวอย่างมั่นคง. Business Plan. Business Plan. สู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่. Business Plan. Business Plan . โครงการอบรมการเขียนแผนธุรกิจ. By Warunee Tuntiwongwanich.
E N D
Business Plan Business Plan Business Plan Business Plan 28 ส.ค.,2 ก.ย.49 CRM รุ่นที่ 2 ก้าวอย่างมั่นคง Business Plan Business Plan สู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Business Plan Business Plan โครงการอบรมการเขียนแผนธุรกิจ ByWarunee Tuntiwongwanich
จุดเริ่มต้นของการเป็นผู้ประกอบการจุดเริ่มต้นของการเป็นผู้ประกอบการ • เริ่มทุกสิ่งทุกอย่างขึ้นมาเอง • ซื้อกิจการมา • ดำเนินธุรกิจตามครอบครัว
การเขียนแผนธุรกิจ คือ การถ่ายทอดความคิดเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข กร๊าฟ และแผนภาพ ในกิจกรรมที่ทำแล้วเกิดผล กำไร
การเขียนแผนธุรกิจเป็นประโยชน์กับใคร?การเขียนแผนธุรกิจเป็นประโยชน์กับใคร? • เจ้าหนี้ สร้างความมั่นใจว่าเป็นการลงทุนที่สามารถได้ทุนคืน • ลูกหนี้ เพื่อนำทางไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ • เจ้าของธุรกิจ สามารถคาดการณ์ความสำเร็จ นำทางและควบคุมตัวเองได้, • ผู้ปฏิบัติงาน สามารถมองเห็นเป้าหมาย และดำเนินกิจกรรมไปในทิศทางเดียวกันได้
ทำไมต้องจัดทำแผนธุรกิจทำไมต้องจัดทำแผนธุรกิจ เพราะการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน มีปัจจัยภายใน (การผลิต, การตลาด, การเงิน, การบริหารคน) และปัจจัยภายนอก(กฏหมาย, เทคโนโลยี,ทรัพยากร, คู่แข่งขัน, ผู้บริโภค) ที่ผู้ประกอบการจะต้องศึกษา ติดตาม และนำข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อหาแนวทางปฏิบัติ
ควรจัดทำแผนธุรกิจเมื่อไร?ควรจัดทำแผนธุรกิจเมื่อไร? • จัดตั้งธุรกิจใหม่ • ประกอบการตัดสินใจ • ขยายหรือปรับปรุงธุรกิจเดิม • ลดต้นทุน รวมถึงกำหนดดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
ส่วนประกอบของแผนธุรกิจส่วนประกอบของแผนธุรกิจ 1. คำนำ 2. ข้อมูลเบื้องต้นของสถานประกอบการที่จัดตั้งขึ้น 3. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร อธิบายถึงแนวคิดธุรกิจที่จะทำโอกาส และความคุ้มค่าในเชิงธุรกิจ (ผลตอบแทนเมื่อเทียบกับโครงสร้างเงินลงทุน) 4. วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ (การกำหนดอนาคต หรือทิศทางที่ธุรกิจต้องการจะไปถึง) พันธกิจ (กระบวนการทำงานเพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์) และเป้าหมาย (วัตถุประสงค์)
ส่วนประกอบของแผนธุรกิจส่วนประกอบของแผนธุรกิจ 5. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของธุรกิจ (SWOT Analysis) ประกอบด้วยโอกาส/อุปสรรคภายนอกที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ และจุดแข็ง/จุดอ่อน ภายในองค์กร เพื่อนำไปสรุปยุทธศาสตร์ (ใช้โอกาสลบจุดอ่อน และอาศัยจุดแข็งล้างอุปสรรค) 6.แผนการตลาด ประกอบด้วย การวิเคราะห์และวิจัยตลาด เลือกตลาดเป้าหมาย,ประมาณการรายได้-ค่าใช้จ่าย , กำหนดตำแหน่งทางการตลาด รวมถึงวางกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด (สินค้า, ราคา,ช่องทางการจำหน่ายและกิจกรรมส่งเสริมการตลาด) 7.แผนการผลิต อธิบายถึง ทำเลที่ตั้ง, กระบวนการผลิต การบริหารวัตถุดิบ ควบคุมคุณภาพและประมาณการต้นทุนการผลิต
ส่วนประกอบของแผนธุรกิจส่วนประกอบของแผนธุรกิจ 8. แผนการบริหารและจัดการองค์กร ประกอบด้วยโครงสร้างองค์กร,กรรมการบริษัท ประมาณการค่าใช้จ่ายด้านสำนักงานและการจัดการอื่นๆ 9. แผนการเงิน ต้องอธิบายประมาณการงบดุล วิเคราะห์กระแสเงินสด และงบการเงิน รวมถึงอัตราส่วนทางการเงินในระยะเวลา 1-3 ปีได้ 10. เอกสารแนบท้าย 11. รายละเอียดสินค้าของบริษัท
แนวคิดเกี่ยวกับการตลาดแนวคิดเกี่ยวกับการตลาด • การตลาดในปัจจุบันถือเป็นวิชาสำคัญ ยิ่งในการดำเนินธุรกิจทุกประเภท • การขายเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการตลาด • การตลาดไม่ใช่เรื่องเทคนิคที่ยุ่งยากจน ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ดำเนินการ แต่การตลาดเป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเราใน สังคมสมัยใหม่ ซึ่งไม่ใช่เรื่องยากที่จะ เข้าใจ
การหาความต้องการ • ต้องระลึกเสมอว่าการทำธุรกิจ • เกี่ยวข้องอยู่กับคน • จำไว้เสมอว่า “มองหาความต้องการ • ของลูกค้า แล้วเติมให้เต็ม” • ต้องตอบคำถามให้ได้ว่าตนอยู่ใน • ธุรกิจที่ถูกต้องแล้วหรือยัง
การรู้จักตลาดของตนเองการรู้จักตลาดของตนเอง ให้ตั้งคำถามถามตัวเองว่า “มองธุรกิจของตนจากมุมมองของลูกค้าหรือไม่” “ใครคือลูกค้าหลักของเรา ที่เราจะเลือกเป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย” “ทำไมลูกค้าถึงซื้อสินค้า และบริการของเรา” “ยังมีกลุ่มลูกค้าที่เรายังเข้าไม่ถึงบ้างหรือไม่” “ลูกค้าปัจจุบันของเราสามารถซื้อสินค้าชนิดอื่นจากเราหรือไม่”
รู้ศักยภาพของตนเอง การวิเคราะห์ตนเองว่ามีจุดแข็ง / จุดอ่อน / โอกาส / อุปสรรค อย่างไร ทำให้รู้ศักยภาพของตนเอง เป็นแนวทางในการคิดวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาด
รู้จุดยืนของตนเอง ภายในตลาดหนึ่งๆ จะมีกลุ่มผู้บริโภคหลายกลุ่ม ซึ่งมีความต้องการ มีพฤติกรรม การบริโภค มีอำนาจซื้อต่างกัน สามารถแบ่งกลุ่ม ตามรายได้ ตามภูมิภาค เรียกกลุ่มเหล่านี้ว่า “ส่วนของตลาด” (Market Segment) เราควรเลือกตลาดที่ถนัด / มีจุดแข็งที่จะทำธุรกิจกับตลาดนั้น โดย กำหนด ลูกค้าเป้าหมาย วางจุดขาย ของตนเอง กำหนดกลยุทธ์ การสร้างความแตกต่าง เพื่อบอกลูกค้าได้ชัดเจนยิ่งขึ้นว่าเราเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีจุดยืนอย่างไร
การวิเคราะห์ การตลาด การวางแผน การตลาด ผลิตภัณฑ์ ผู้บริโภค เป้าหมาย การจัดจำหน่าย ราคา การส่งเสริมการตลาด การปฏิบัติการ การตลาด การควบคุม การตลาด กระบวนการทางการตลาด สภาพแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจและ ประชากรศาสตร์ สภาพแวดล้อม ด้านธรรมชาติและ เทคโนโลยี คนกลางทางการตลาด ผู้จัดหา สาธารณชน สภาพแวดล้อม ด้านกฎหมายและ การเมือง สภาพแวดล้อม ทางวัฒนธรรมและ สังคม คู่แข่ง
4 P’s Product Price Place Promotion 4 C’s Customer Solution Customer Cost Convenience Communication ให้มองส่วนประสมการตลาด (Marketing Mix)จาก 4P’s เป็น 4C’s
ขั้นตอนที่ 1 การแบ่งส่วนตลาดกำหนดตัวแปรที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการแบ่งส่วนตลาด • ดูในเอกสารประกอบการบรรยายในภาคผนวก • ตัวแปรหลักที่ใช้ในการแบ่งส่วนตลาด • 1) ตลาดผู้บริโภค • 2) ตลาดธุรกิจ
ขั้นตอนที่ 2 การเลือกตลาดเป้าหมาย การประเมินส่วนตลาดที่จะใช้เป็นตลาดเป้าหมาย • ขนาดและอัตราการเติบโตของส่วนตลาด • วิเคราะห์ยอดขายปัจจุบัน การเติบโตและกำไรตามที่คาดหวังในแต่ละส่วนตลาด • ความน่าสนใจในแต่ละส่วนตลาด • พิจารณาจากคู่แข่ง ผลิตภัณฑ์ที่สามารถทดแทนได้ และอำนาจในการ ต่อรองของผู้ซื้อและ supplier • วัตถุประสงค์ของกิจการและทรัพยากรที่มี • พิจารณาจากทักษะ & ทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงานในแต่ละส่วนตลาดนั้นเพื่อให้กิจการประสบความสำเร็จ • ค้นหาความได้เปรียบทางการแข่งขัน
ขั้นตอนที่ 3 กลยุทธ์การเลือกตำแหน่งทางการตลาด • การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ – เป็นแนวทางหนึ่งที่ผลิตภัณฑ์นั้นถูกกำหนดขึ้นมาโดยผู้บริโภคเองตามคุณสมบัติที่สำคัญๆ – เป็นการจัดวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ในใจผู้บริโภคที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในตัวผลิตภัณฑ์นั้น • นักการตลาดต้อง : • วางแผนตำแหน่งทางการตลาดให้กับผลิตภัณฑ์เพื่อให้เกิดความได้เปรียบมากที่สุดในตลาดเป้าหมายที่ได้เลือกไว้ • ออกแบบส่วนประสมการตลาดอย่างสร้างสรรค์เพื่อการวางตำแหน่งตามแผนนั้นต่อไป
ขั้นตอนที่ 3 กลยุทธ์การเลือกตำแหน่งทางการตลาด ขั้นที่ 1. ระบุสิ่งที่จะเป็นความได้ เปรียบทางการแข่งขันที่เหนือกว่า ขั้นที่ 2.เลือกข้อได้เปรียบทางการแข่งขันที่เหมาะสมที่สุด ขั้นที่ 3. สื่อสารและส่งมอบตำแหน่งทางการตลาดที่เลือก
การระบุความได้เปรียบที่เป็นไปได้การระบุความได้เปรียบที่เป็นไปได้ การสร้างความแตกต่าง ด้านบริการ (Services Differentiation) การส่งมอบ การติดตั้ง บริการซ่อม ฝึกอบรมให้ลูกค้า การสร้างความแตกต่าง ด้านผลิตภัณฑ์ (Product Differentiation)รูปร่าง สมรรถนะ รูปแบบการออกแบบ หรือคุณสมบัติ การสร้างความแตกต่าง ด้านบุคลากร (Personnel Differentiation) การจ้างงาน การฝึกอบรมคนให้เหนือกว่าคู่แข่งขัน การสร้างความแตกต่าง ด้านภาพพจน์ (Image Differentiation) สัญลักษณ์ บรรยากาศ เหตุการณ์
การตัดสินใจในตัวผลิตภัณฑ์(Individual Product Decisions) คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ ตราผลิตภัณฑ์ ป้ายฉลาก การบรรจุภัณฑ์ บริการสนับสนุนผลิตภัณฑ์
คุณสมบัติผลิตภัณฑ์ คุณภาพ รูปแบบ และ การออกแบบ รูปลักษณ์
กลยุทธ์การตลาดสำหรับธุรกิจบริการกลยุทธ์การตลาดสำหรับธุรกิจบริการ การสร้างความแตกต่างในบริการที่ลูกค้าจะได้รับ • พัฒนาสิ่งที่จะเสนอให้ การส่งมอบ และการสร้างภาพลักษณ์ กับลูกค้าในจุดที่แตกต่างกว่า การจัดการในคุณภาพบริการ • ให้อำนาจในการตัดสินใจกับพนักงานส่วนหน้างาน • พยายามครอบจำจิตใจของลูกค้า • พัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการให้อยู่ในระดับสูง • เฝ้าจับตาดูผลการดำเนินงานอย่างใกล้ชิด การจัดการบริการให้เกิดผลิตผล • ฝึกอบรมทั้งลูกค้ารายใหม่และรายเก่า • ทำงานให้มีคุณภาพและได้ปริมาณงาน • นำเอาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ส่วนประสมในการสื่อสารการตลาด(Marketing Communication Mix or Promotion Mix) การโฆษณา (Advertising) การขายโดยบุคคล (Personal Selling) การออกแบบผลิตภัณฑ์ การตลาดทางตรง (Direct Marketing) ราคาผลิตภัณฑ์ ร้านจำหน่ายผลิตภัณฑ์ การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion) บรรจุภัณฑ์
ความพึงพอใจของลูกค้า(Customer Satisfaction) • กิจการต่าง ๆ ที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงสุด ในปัจจุบันได้เพิ่มระดับความคาดหวังขึ้น และส่งมอบผลการทำงานที่สอดคล้องกับระดับความคาดหวัง • กิจการเหล่านี้ได้ทำตามแนวคิดการเพิ่ม ความพึงพอใจโดยรวมของลูกค้า • กิจการต่าง ๆ จะเสาะแสวงหาถึงความพึงพอใจโดยรวมของลูกค้า ซึ่งอาจไม่ต้องพยายามให้เกิดความพึงพอใจของลูกค้าสูงสุด • วัตถุประสงค乌ÿ硢莑땋滌燒໓าด คือ สร้างคุณค่าในสายตาของลูกค้าอย่างให้ผลกำไร
ความภักดีของลูกค้าและการรักษาลูกค้า(Customer Loyalty and Retention) ลูกค้าที่มีความพึงพอใจอย่างมาก มีข้อดี ดังนี้ • มีความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงราคา (price sensitive) • เป็นลูกค้ายาวนานกว่า • พูดถึงกิจการและผลิตภัณฑ์ของกิจการกับผู้อื่นในแง่ดี • มีความแตกต่างอย่างมากระหว่างความภักดีของลูกค้าที่พึงพอใจ และลูกค้าที่พึงพอใจอย่าางสมบูรณ์ • ลูกค้าที่ประทับจะสร้างความรู้สึกผูกพันในสินค้าและบริการ ไม่ใช่ เพียงแต่เกิดความชอบอย่างมีเหตุผลแต่จะสร้างความภักดีของลูกค้าอย่างสูง
กลยุทธ์การแข่งขันพื้นฐาน(Basic Competitive Strategies) การเป็นผู้นำทางด้านต้นทุนรวม (Overall CostLeadership) การมุ่งตลาดเฉพาะส่วน (Focus) การสร้างความแตกต่าง (Differentiation) เดินสายกลาง (Middle ofthe Road)
ข้อมูลสำหรับการดำเนินธุรกิจข้อมูลสำหรับการดำเนินธุรกิจ • การค้นหาข้อมูลสามารถได้จากแหล่งค้นคว้าต่างๆ • ใส่ใจในข้อมูลจากลูกค้า • ทันเหตุการณ์ต่อข้อมูลในธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
จุดเริ่มต้นของการพิจารณาจุดเริ่มต้นของการพิจารณา เริ่มจากมองว่าลูกค้าเป้าหมายที่มีอยู่ต้องการอะไร? หรือ เริ่มจากมองว่าคุณต้องการลูกค้าเป้าหมายกลุ่มใด?
ให้ท่านประเมินศักยภาพของตนเองก่อนให้ท่านประเมินศักยภาพของตนเองก่อน มองดูว่าเรามีอะไรบ้างเป็น จุดเด่น จุดเด่น 1. 2. 3. 4. 5.
ให้ท่านประเมินศักยภาพของตนเองก่อนให้ท่านประเมินศักยภาพของตนเองก่อน มองดูว่าเรามีอะไรบ้างเป็น ข้อด้อย ข้อด้อย 1. 2. 3. 4. 5.
ธุรกิจจะเจริญเติบโตต่อไปได้อย่างไรธุรกิจจะเจริญเติบโตต่อไปได้อย่างไร จะเติบโตในลูกค้ากลุ่มเดิม จะเติบโตในลูกค้ากลุ่มใหม่
ข้อควรระวังในการทำธุรกิจข้อควรระวังในการทำธุรกิจ
อย่าตัดสินใจบนพื้นฐานข้อมูลตลาดที่ไม่เพียงพอ อย่าตัดสินใจบนพื้นฐานข้อมูลตลาดที่ไม่เพียงพอ • อย่าแข่งขันด้วยราคาและบริการ โดยไม่ได้กำหนดเอกลักษณ์ ของจุดขายของสินค้า • อย่าตั้งราคาถูกเกินไปจนไม่สามารถควบคุมต้นทุน • อย่าพยายามขยายตลาดสินค้าที่ทำกำไรไม่ได้ • อย่าขยายตลาดโดยมีทุนการดำเนินการไม่เพียงพอ • อย่าใช้พนักงานขายที่มีความรู้แต่ไม่ฝึกอบรมเรื่องการขาย • อย่าอยู่ในตลาดที่ความต้องการลดลง ไม่มีกำไรนานเกินไป • อย่าประมาท กระหยิ่มใจ ไม่ระมัดระวัง เมื่อทุกอย่างทำท่าจะดี
อย่าวางตลาดสินค้าโดยไม่มีการวิจัยตลาดอย่าวางตลาดสินค้าโดยไม่มีการวิจัยตลาด • อย่าขยายเครดิตให้ลูกค้า ที่มีการจ่ายชำระเงินช้าเป็นประจำ