1 / 12

7. ตัวทวี ( Multiplier ) ความหมาย เป็นมาตรการวัดขนาดของการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ

บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ นำความรู้จากบทที่ 3 ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติมาใช้ รายได้ประชาชาติดุลยภาพ คือ รายได้ ประชาชาติณ ระดับเท่ากับความต้องการใช้จ่ายมวลรวมพอดี หรือ Y = DAE.

levana
Download Presentation

7. ตัวทวี ( Multiplier ) ความหมาย เป็นมาตรการวัดขนาดของการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพนำความรู้จากบทที่ 3 ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติมาใช้รายได้ประชาชาติดุลยภาพ คือ รายได้ประชาชาติณระดับเท่ากับความต้องการใช้จ่ายมวลรวมพอดีหรือ Y = DAE http://www.ssru.ac.th

  2. 1. วิเคราะห์แนวรายได้ประชาชาติ เท่ากับ ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกิจปิดไม่มีรัฐบาล DAE = C + Iระบบเศรษฐกิจ 3 ภาคเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกิจมีรัฐบาล DAE = C +I + Gระบบเศรษฐกิจ 4 ภาคเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกิจเปิดDAE = C + I + G + X – M http://www.ssru.ac.th

  3. 2. วิเคราะห์แนวส่วนรั่วไหล เท่ากับ ส่วนอัดฉีดระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคเศรษฐกิจ S = Iระบบเศรษฐกิจ 3 ภาคเศรษฐกิจ S + T = I + Gระบบเศรษฐกิจ 4 ภาคเศรษฐกิจ S + T + M = I + G + Xทั้ง สองแนวการวิเคราะห์ ให้ปัจจัย เช่นราคาสินค้า อัตราค่าจ้าง อัตราดอกเบี้ย คงที่ http://www.ssru.ac.th

  4. 3.การวิเคราะห์รายได้ประชาชาติกรณีระบบเศรษฐกิจปิดไม่มีรัฐบาล แนว Y = DAEการวิเคราะห์ได้จากตาราง และ รูปกราฟDAE = C + I หรือ DAE = YC = 100 + 0.8 Y ( Y = Yd )I = 250DAE = 350 + 0.8 Yตาราง และ กราฟ http://www.ssru.ac.th

  5. 4. วิเคราะห์แนวส่วนรั่วไหล เท่ากับส่วนอัดฉีดกรณีระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคเศรษฐกิจS = Iภาคครัวเรือน แบ่งรายได้ เป็นสองส่วน คือ การบริโภค และ การออม การออม ถือว่ารั่วไหล แต่สถาบันการเงินนำไปให้ภาคธุรกิจกู้เพื่อนำมาลงทุนใหม่การออมที่เกิดขึ้นจริง = การออมที่ตั้งใจการลงทุนที่เกิดขึ้นจริง = การลงทุนที่ตั้งใจ + การลงทุนที่ไม่ตั้งใจ http://www.ssru.ac.th

  6. 5. ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพเกิดขึ้นเมื่อ การลงทุนที่ตั้งใจ = การออมที่ตั้งใจหน่วยผลิตวางแผนล่วงหน้าในการลงทุน คือ ตั้งใจแต่ DAE อาจจะมากกว่าหรือน้อยกว่า Y ส่งผลต่อส่วนเปลี่ยนสินค้าคงเหลือการลงทุนที่ไม่ตั้งใจเป็นลบ คือ สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปีลดลงการลงทุนที่ไม่ตั้งใจเป็นบวก คือ สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปีเพิ่มขึ้นการลงทุนที่ไม่ตั้งใจเป็นศูนย์ คือ สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปีไม่เปลี่ยนแปลงการวิเคราะห์ ได้ทั้ง ตารางและ กราฟ http://www.ssru.ac.th

  7. 6. การเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ หรือเส้น DAEการเปลี่ยนแปลงในส่วนประกอบของตัวแปรตัวใดตัวหนึ่ง ( C , I , G, X, M) การเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบ DAE มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ ดุลยภาพถ้าส่วนประกอบเปลี่ยนแปลงในทางลดลง ระดับรายได้ประชาชาติจะลดลงถ้าส่วนประกอบเปลี่ยนแปลงในทางเพิ่มขึ้น ระดับรายได้ประชาชาติจะเพิ่มขึ้น http://www.ssru.ac.th

  8. 7. ตัวทวี ( Multiplier ) ความหมาย เป็นมาตรการวัดขนาดของการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ รายได้ประชาชาติจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ขึ้นอยู่กับ MPC สมมติ โรงงานลงทุนเพิ่ม 15 ล้านบาท เป็นค่าขยายโรงงานซื้อเครื่องจักรใหม่ ให้ค่า MPC = 0.75 เงินลงทุนที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่ายรอบแรก จะตกเป็นของผู้รับเหมา คนขายเครื่องจักรผู้มีรายได้นี้จะแบ่งรายได้ เป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งเก็บออม อีกส่วนใช้จ่ายเป็นรอบสอง 11.25 ล้านบาท ( 15 *0.75 ) จะใช้จ่ายในรอบต่อ ๆไป http://www.ssru.ac.th

  9. รอบ การเปลี่ยนแปลงของรายได้ การเปลี่ยนแปลงของการบริโภค การเปลี่ยนแปลงของการออมการใช้จ่าย Y MPC = 0.75 MPS = 0.251 15.00 11.25 3.752 11.25 8.44 2.813 8.44 6.33 2.114 6.33 4.75 1.585-สุดท้าย 18.98 14.23 4.75รวม 60.00 45.00 15.00 http://www.ssru.ac.th

  10. สูตร การเปลี่ยนแปลงของ Y = 15 { 1 + 0.75 + 0.752 + ……..0.75 n} = 15 { 1 / 1 – 0.75 } = 15 { 1 / 0.25 } = 60ค่า 0.75 คือค่า MPC และค่า 0.25 คือค่าMPSส่วนเปลี่ยนแปลงY = ส่วนเปลี่ยนแปลง I { 1 / 1 – MPC } = ส่วนเปลี่ยนแปลง I { 1 / MPS }ค่า I เป็นส่วนประกอบของ DAE ถ้า I เปลี่ยน DAE เปลี่ยนด้วย ส่วนเปลี่ยนแปลง Y = k คูณด้วย ส่วนเปลี่ยนของ DAE { K คือ ค่าตัวทวี } http://www.ssru.ac.th

  11. ตัวทวีอย่างง่ายสมมติระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคกรณีการลงทุนแบบอิสระให้ I เป็นการลงทุนอิสระ I = IoDAE = C + IC = Co + bYdDAE = Co + Io + bYY = DAEY = Co + Io +bYY – bY = Co +Io{1 – b }Y = Co + IoY = 1 / 1 – b { Co + Io }ค่า Co หรือ Io เพิ่มหรือลด ค่า Y ก็จะเพิ่มหรือลดด้วย โดยผ่านตัวทวี http://www.ssru.ac.th

  12. ส่วนเปลี่ยนแปลง Y / ส่วนเปลี่ยนแปลง Co เท่ากับ 1 / 1-bหรือ ส่วนเปลี่ยนแปลง Y = 1 / 1-b {ส่วนเปลี่ยนแปลง Co}ตัวทวีคูณ หรือ K = 1 / 1 – bค่าของตัวทวี ขึ้นอยู่กับMPC ถ้า MPC สูง ค่าตัวทวี จะสูงด้วยให้ A = Co + Io Z = bค่าของตัวทวี = 1 / 1 - b หรือ 1 / 1 - MPC http://www.ssru.ac.th

More Related