260 likes | 394 Views
AGM Assessment Project. ผลการประเมินโครงการ AGM ประจำปี 2551 18 ธันวาคม 2551. หัวข้อ. ข้อมูลทั่วไปของโครงการ AGM หลักเกณฑ์การประเมิน AGM ปี 2551 ผลการประเมิน วิเคราะห์ผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ. ข้อมูลทั่วไปของโครงการ AGM. ความเป็นมา
E N D
AGM Assessment Project ผลการประเมินโครงการ AGM ประจำปี 2551 18 ธันวาคม 2551
หัวข้อ • ข้อมูลทั่วไปของโครงการ AGM • หลักเกณฑ์การประเมิน AGM ปี 2551 • ผลการประเมิน • วิเคราะห์ผลการประเมิน • ข้อเสนอแนะ
ข้อมูลทั่วไปของโครงการ AGM • ความเป็นมา • 2548 : CG-ROSC เสนอแนะให้ไทยปรับปรุง เรื่องสิทธิของผู้ถือหุ้น • 2549 : ก.ล.ต.+สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (“LCA”) + สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย (“TIA”) ริเริ่มโครงการประเมิน AGM
ข้อมูลทั่วไปของโครงการ AGM (ต่อ) • วัตถุประสงค์ของโครงการ : ส่งเสริมให้ บจ. ให้ความสำคัญกับการจัด AGM ที่มีคุณภาพ
หลักเกณฑ์การประเมิน AGM ปี 2551
ผลการประเมิน- ภาพรวม ปี 2551 บจ. ที่ได้รับการประเมิน AGM ในปี 2551 จำนวน 486 แห่ง คะแนน = 0 – 110 (100 + Bonus 10 คะแนน) * รวมบริษัทที่ปิดรอบบัญชีในเดือนอื่น 29 แห่ง
ผลการประเมิน - แยกรายหมวด
ผลการประเมิน – แยกรายหมวด (ต่อ)
ผลการประเมินปี 2551 – แยกตามช่วงคะแนน 38% 20% 20% 11% 11%
ผลการประเมินเปรียบเทียบ 3 ปี - แยกตามช่วงคะแนน
ผลการประเมิน - แยกตามกลุ่ม 16 7
วิเคราะห์ผลประเมินปี 2551
วิเคราะห์ผลประเมิน Part A : ก่อนวันประชุม การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเสนอเพิ่มวาระและเสนอชื่อบุคคลเพื่อดำรงตำแหน่งกรรมการ การเผยแพร่เอกสารการประชุมบนเว็บไซต์บริษัท (สาระครบถ้วน,ไทย+อังกฤษ, 30 วัน) การเปิดเผยข้อมูลประกอบ ในแต่ละวาระ การจัดส่งเอกสารประกอบ
วิเคราะห์ผลประเมิน Part B : วันประชุม กรรมการและผู้บริหารบริษัททุกคนควรเข้าประชุม บริษัทจัดให้ผู้ถือหุ้นได้ลงคะแนนเสียงอย่างโปร่งใสและให้สิทธิออกเสียงในเรื่องสำคัญๆ แยกออกจากกัน บริษัทควรประกาศแจ้งข้อมูลที่สำคัญให้ผู้ถือหุ้นทราบตั้งแต่เริ่มต้นการประชุม บริษัทควรมีความโปร่งใสในการตรวจสอบการนับคะแนนเสียง บริษัทควรกำหนดวัน เวลา และสถานที่ในการจัดประชุมโดยคำนึงถึงความสะดวกของผู้ถือหุ้นที่จะเข้าประชุม ดำเนินการประชุมให้เป็นไปตามข้อบังคับบริษัทและวาระที่กำหนดไว้ บริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วมในระหว่างการประชุม
วิเคราะห์ผลประเมิน Part C : หลังวันประชุม เผยแพร่รายงานการประชุมบนเว็บไซต์ของบริษัท ภายใน 14 วัน แจ้งมติที่ประชุม + ผลคะแนนเสียงต่อ ตลท. ส่งรายงานการประชุมต่อ ตลท.ภายใน 14 วัน รายชื่อกรรมการ/ผู้บริหารที่เข้าร่วมประชุม ประเด็นอภิปรายที่สำคัญและการชี้แจงโดยสรุป ผลคะแนนเสียง
วิเคราะห์ผลประเมิน Part D : คะแนนโบนัส การลงคะแนนเสียงแบบ cumulative voting ในวาระเลือกตั้งกรรมการ จัดให้มี inspector เพื่อทำหน้าที่ดูแลให้การประชุมเป็นไปอย่างโปร่งใส ถูกต้องตามกฎหมาย แจกและเก็บบัตรลงคะแนนจากผู้ถือหุ้นทุกราย ในวาระเลือกตั้งกรรมการ ใช้ระบบ barcode หรือระบบที่ช่วยในการลงทะเบียน และ/หรือ นับคะแนนเสียงเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุม มีการบันทึกภาพการประชุม และพร้อมให้บริการเผยแพร่แก่ผู้ถือหุ้นที่สนใจ
ข้อสังเกตจากการประเมินAGM Checklist ประจำปี 2551 • ระบุข้อมูลกรรมการอิสระที่กำหนดให้เป็นผู้รับมอบฉันทะไม่ครบถ้วน (โดยเฉพาะเรื่อง การมี/ ไม่มีส่วนได้เสียในวาระที่เสนอในการประชุม AGM ครั้งนี้) • ไม่ได้ระบุหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหากรรมการ • ไม่ระบุจำนวนกิจการอื่น ที่กรรมการผู้ได้รับการเสนอแต่งตั้งมีการดำรงตำแหน่งอยู่ในปัจจุบันด้วย
ข้อสังเกตจากการประเมินAGM Checklist ประจำปี 2551 (ต่อ) • ไม่ระบุนิยามกรรมการอิสระของบริษัท/ ไม่ระบุว่านิยามกรรมการอิสระของบริษัทเท่ากับหรือเข้มกว่าข้อกำหนดขั้นต่ำของ ก.ล.ต. และ ตลท. อย่างไร • ไม่ได้เผยแพร่เอกสารการประชุมบนเว็บไซต์ของบริษัท ล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วันก่อนวันประชุม / ไม่ได้เผยแพร่ข้อมูลบนเว็บไซต์ของบริษัทเป็นภาษาอังกฤษ/ ไม่ได้แจ้งการเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวผ่านระบบข่าวของ ตลท. ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น
ข้อสังเกตจากการประเมินAGM Checklist ประจำปี 2551 (ต่อ) • ไม่เผยแพร่ให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงสิทธิและวิธีการเสนอเพิ่มวาระ รวมทั้งกำหนดระยะเวลาสิ้นสุดการเสนอเพิ่มวาระ/ ไม่เผยแพร่ • ให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงสิทธิและวิธีการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเป็นกรรมการ บนเว็บไซต์ของบริษัท/ ไม่ได้แจ้งผ่านระบบข่าวของตลท. • สัดส่วนของกรรมการที่เข้าร่วมประชุมไม่ถึง 90% ของกรรมการ ทั้งหมด
ข้อสังเกตจากการประเมินAGM Checklist ประจำปี 2551 (ต่อ) • ไม่แจ้งมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นผ่านระบบข่าวของ ตลท. ภายในวันทำการ ถัดไป / ไม่ระบุผลของมติ (เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ) และผลของการ ลงคะแนนเสียง (เห็นด้วย/ ไม่เห็นด้วย/ งดออกเสียง) ในแต่ละวาระ • ไม่เผยแพร่รายงานการประชุมบนเว็บไซต์ของบริษัทภายใน 14 วัน นับแต่วันประชุม
ข้อเสนอแนะ • บริษัทควรมี website + เปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ภายในเวลาที่เหมาะสม • ข้อมูลในวาระ AGM บางส่วน อาจอ้างอิงกับข้อมูล ในรายงานประจำปีก็ได้ แต่ต้องระบุเลขที่หน้าของ รายงานประจำปี หรือหัวข้อในรายงานประจำปี ไว้ในหนังสือนัดประชุมด้วย
ข้อเสนอแนะ (ต่อ) • รายงานการประชุมควรบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อใช้อ้างอิงการดำเนินการของบริษัท • บริษัทควรเริ่มทยอยทำโปรแกรม AGM self assessment เพื่อให้สามารถส่งผลได้ทันตาม กำหนดเวลา
การเข้าถึงเว็บไซต์ กลต. ในส่วนของ AGM http://www.sec.or.th
การเข้าถึงเว็บไซต์ กลต. ในส่วนของ AGM
การเข้าถึงเว็บไซต์ กลต. ในส่วนของ AGM