350 likes | 498 Views
E-Learning. Electronic Learning. CAI/WBI/Hypermedia/Multimedia CAI on Web On-line Learning Internet-Based Learning Teleconferencing/Videoconferencing Distance Education. CAI แตกต่างอย่างไรกับ e-Learning. OFF LINE. ON LINE. เรียนคนเดียว. หลายคนพร้อมกัน. ปฏิสัมพันธ์กับเครื่อง.
E N D
Electronic Learning • CAI/WBI/Hypermedia/Multimedia • CAI on Web • On-line Learning • Internet-Based Learning • Teleconferencing/Videoconferencing • Distance Education
CAI แตกต่างอย่างไรกับ e-Learning • OFF LINE • ON LINE • เรียนคนเดียว • หลายคนพร้อมกัน • ปฏิสัมพันธ์กับเครื่อง • ปฏิสัมพันธ์ทั้งเครื่องและคน • ติดต่อไม่ได้ในทันที • ติดต่อได้ทันที • ข้อมูลเฉพาะที่มีให้/ไม่มีการ update • ข้อมูลมีทั่วโลก/update ตลอดเวลา
e-Learning 1 • E-Learning หมายถึง กระบวนการและการใช้ประโยชน์จากการเรียนการสอนผ่านเว็บ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ห้องเรียนเสมือน และการเรียนด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ทั้งระบบ Internet, Intranet, Network ,Audio, Visual, Video ,Television,Satellite, CD ROM ฯลฯ
e-Learning 2 • E-Learning หมายถึง การเรียนรู้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต หรือการใช้ความสามารถของระบบ อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้
e-Learning 3 • E-Learning หมายถึง การบูรณาการทางการศึกษาที่ไม่ยึดติดกับเวลา และความก้าวหน้าในการเรียนรู้
e-Learning 4 • e-Learning หมายถึง การจัดกระบวนการเรียนและการใช้ประโยชน์จากสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์และระบบอินเทอร์เน็ต ที่ออกแบบการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดการเรียนรุ้ได้ทุกที่ โดยไม่ยึดติดกับเวลาและความก้าวหน้าในการเรียนรู้
คุณลักษณะของ E-Learning • Distance Education • Anytime Anywhere Anyplace • Collaborative Learning • Non-Linearity • Dynamic updating • Easy Accessibility
ประโยชน์ของ E-Learning • สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา • สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง • กำหนดความต้องการในการเรียนรู้ได้ • ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียน/ผู้สอนได้ • ประหยัดงบประมาณ ราคาถูกและใช้งานได้ง่าย • ใช้เป็นสื่อหลัก/สื่อเสริมก็ได้
ระบบการจัดการเรียนรู้ E-Learning • LMS (Learning Management System) • เป็นการจัดระบบกระบวนการเรียนการสอนต่างๆในการออนไลน์ตั้งแต่เนื้อหาการลงทะเบียนการเก็บข้อมูลการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเช่นอีเมล์กระดานข่าวห้องสนทนาเป็นต้นซึ่งจะมีส่วนของระบบฐานข้อมูลที่สนับสนุนการจัดการเนื้อหาวิชา (Content) โดยจะเอื้ออำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนผู้สอนผู้ผลิตและผู้ดูแลระบบ
ระบบการจัดการเนื้อหา E-Learning • CMS (Content Management System) • เป็นในส่วนของเนื้อหาวิชาที่เรียนผู้สอนจะเป็นผู้จัดทำขึ้นและนำมาใส่ไว้ในระบบฐานข้อมูลของ LMS หรือผู้สอนจัดทำขึ้นเองเป็นอิสระโดยมีระบบเหมือนกับ LMS แต่ผู้สอนสามารถจัดการบริหารเพิ่มเติมเนื้อหาติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือบางส่วนได้ด้วยตนเองอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบการจัดการเนื้อหาโดยผู้สอนเพื่อที่ผู้เรียนจะได้นำไปศึกษาโดยไม่ต้องมีระบบการจัดการเต็มรูปแบบเข้ามาช่วย
ความแตกต่างระหว่างระบบ LMS • 1.การบริหารจัดการทั้งระบบ • 2.กระบวนการจัดการสมบูรณ์แบบองค์ประกอบเต็มรูปแบบ • 3.ดำเนินการด้วยบุคลากรจำนวนมาก • 4.ค่าใช้จ่ายการดำเนินการสูง • 5.เหมาะสำหรับองค์กรขนาดใหญ่ • 6.ใช้เป็นสื่อหลักในการเรียนการสอน • 7.เนื้อหามาจากผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ชำนาญการ • 8.การผลิตยุ่งยากและใช้เวลานาน • 9.การสร้างเน้นการทำงานกับเครื่องแม่ข่าย • ** **ความรับผิดชอบอยู่ที่องค์กรหรือหน่วยงาน
ความแตกต่างของระบบ CMS • 1.การบริหารจัดการเฉพาะเนื้อหา • 2.กระบวนการจัดการเฉพาะเนื้อหาและองค์ประกอบบางส่วน • 3.ดำเนินการโดยผู้สอน • 4.ค่าใช้จ่ายการดำเนินการต่ำ • 5.เหมาะสำหรับอาจารย์ที่มีความรู้เฉพาะ • 6.ใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนการสอน • 7.เนื้อหาตรงตามความต้องการผู้สอน • 8.การผลิตง่ายและใช้เวลาน้อย • 9.การสร้างเน้นการทำงานกับเครื่องลูกข่าย • *** ความรับผิดชอบอยู่ที่ผู้สร้างหรือผู้สอน
คณะทำงาน E-Learning • 1.ผู้ดูแลระบบ (Administrator) เป็นผู้ที่มีหน้าที่ดูแลระบบเครือข่ายการบริหารเครือข่าย • 2.ผู้ดูแลเว็บ (Webmaster) จะต้องเป็นผู้ดูแลและติดตั้งเว็บ • 3.ผู้ออกแบบและพัฒนาเว็บ (Web designer) เป็นผู้ออกแบบและสร้างเว็บตามผู้ออกแบบการเรียนการสอน • 4.ผู้ออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Developer) เป็นผู้กำหนดรูปแบบการเรียนการสอนองค์ประกอบเนื้อหา • ผู้สอน (Instructor) เป็นผู้เชี่ยวชาญเนื้อหาเฉพาะวิชาที่ต้องการจะนำมาใช้ในการเรียนการสอนกำหนดเนื้อหาที่จะสอนแบบฝึกหัดข้อสอบการวัดผลและประเมินการเรียน
การเรียนการสอนผ่านเว็บการเรียนการสอนผ่านเว็บ • CAI on Web • Online Learning • WBI : Web-based Instruction • WBT : Web-Based Training • IBI: Internet-Based Instruction
Web-Based Instruction การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในระบบอินเทอร์เน็ต ในการออกแบบเว็บเพื่อการเรียนการสอน สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
การออกแบบเว็บไซต์ • Homepage หมายถึง หน้าแรกของเว็บไซต์ • Web page หมายถึง เอกสารที่สร้างขึ้นในรูปแบบของ HTML • Web-site หมายถึง เว็บเพจที่มารวมกันอยู่ในพื้นที่ เดียวกันภายใต้โดเมนเดียวกัน
การเข้าสู่ระบบอีเลินนิ่งการเข้าสู่ระบบอีเลินนิ่ง http://www.rajabhat.edu << Homepage Domain Name http://www.rajabhat.edu/it/index.html URL : Uniform Resource Locator http://edu.rajabhat.edu http://business.rajabhat.edu
การออกแบบโครงสร้างเว็บการออกแบบโครงสร้างเว็บ ^^ แบบตื้น <<แบบลึก
รูปแบบของเว็บไซต์ แบบตะแกรง แบบใยแมงมุม แบบลำดับขั้น แบบต่อเนื่อง
พื้นที่จอภาพ • 800 x 600 pixels 640 x 480 pixels 1024 x 768 pixels
การจัดองค์ประกอบเว็บเพจการจัดองค์ประกอบเว็บเพจ
โปรแกรมเพื่อการสร้างเว็บโปรแกรมเพื่อการสร้างเว็บ • Dreamweaver • Frontpage • Namo ฯลฯ HTML
ความรู้เบื้องต้นสำหรับผู้สร้าง e-Learning • Computer Literacy • HTML • Internet /Browser • e-mail
โปรแกรมสำหรับสร้างเว็บไซต์โปรแกรมสำหรับสร้างเว็บไซต์ • Web Programming • HTML,DHTML • Pert, CGI, • JAVA,ASP, PHP • Web Authoring • Frontpage • Dreamweaver • Namo , Net Object, Homesite
Web Programming • Web-Programming หมายถึง การสร้างเว็บด้วยโปรแกรมภาษาสำหรับการสร้างเว็บ ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมสำหรับเว็บ ได้แก่ HTML ,Perl, CGI, ASP, PHP,XML
Web Authoring • Web Authoring หมายถึง การสร้างเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป (Application) ที่จะแปลงการทำงานจากพื้นที่สร้างเว็บไปเป็นภาษาโปรแกรม(Source code) สำหรับเว็บอีกครั้งหนึ่ง อาทิเช่น Frontpage, Dreamweaver, Namo, Net object ฯลฯ
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนา E-Learning • การวางแผน (Planning) • การออกแบบ (Design) • การพัฒนา (Development) • การติดตั้ง (Publishing) • การตรวจสอบและดูแล (Maintenance)
การวางแผนสร้างและพัฒนา E-Learning • หน้าแรกของเว็บไซต์ Homepage • ข้อมูลหน่วยงาน (Information) • โปรแกรมการสร้างและพัฒนาเว็บ • Dreamweaver, PhotoShop, Flash etc.. • พื้นที่ติดตั้งเว็บไซต์และองค์ประกอบภายในเว็บ • Thai.net , NECTEC • ผู้รับผิดชอบตรวจสอบและดูแล • Webmaster
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ E-Learning • NECTEC • http://www.nectec.or.th • CHULAONLINE • http://www.chulaonline.com • THAI2Learn • http://www.thai2learn.com • THAIWBI • http://www.thaiwbi.com • การเรียนการสอนผ่านเว็บ • http://www26.brinkster.com/it2002/wbi.html
ขอขอบคุณทุกท่านและหวังว่าจะได้พบท่านเป็นส่วนขอขอบคุณทุกท่านและหวังว่าจะได้พบท่านเป็นส่วน หนึ่งในโลกของ E-Learning