90 likes | 258 Views
สถิติผลการบรรจุงาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 - 2556. ปี พ.ศ. 2554 จำนวน 10,797 คน ปี พ.ศ. 2555 จำนวน 9 , 911 คน ปี พ.ศ. 2556 จำนวน 13 , 082 คน. ผลการบรรจุงานสูงสุด 10 อันดับ ของผู้รับอนุญาตจัดหางานประเภท “นิติบุคคล” ในปี 2556.
E N D
สถิติผลการบรรจุงาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 - 2556 • ปี พ.ศ. 2554 จำนวน 10,797 คน • ปี พ.ศ. 2555 จำนวน 9,911 คน • ปี พ.ศ. 2556 จำนวน 13,082 คน
ผลการบรรจุงานสูงสุด 10 อันดับ ของผู้รับอนุญาตจัดหางานประเภท “นิติบุคคล”ในปี 2556 1. บริษัทจัดหางาน เพอร์ซันแนลคอนซัลแตนท์ฯ จำกัด จำนวน 1,448 คน 2. บริษัทจัดหางาน เจเอซี เพอซันแนล จำกัด “ 603 คน 3. บริษัทจัดหางาน พี.อาร์แอนด์บิสซิเนสแมเนจเม้นท์ จำกัด “ 600 คน 4. บริษัทจัดหางาน เพิ่มเพ็ญ จำกัด “ 483 คน 5. บริษัทจัดหางาน เคไอ เปอรูมาลคอร์เปอเรชั่น จำกัด “ 441 คน 6. บริษัทจัดหางาน ยู.เอ.เอ็นสตรอง จำกัด “ 438 คน 7. บริษัทจัดหางาน อเด็คโก้ พหลโยธิน จำกัด “ 399 คน 8. บริษัทจัดหางาน พีเอ แอนด์ ซีเอ จำกัด “ 357 คน 9. บริษัทจัดหางาน ซีดับบลิวเอ ทาเลนท์ จำกัด “ 310 คน 10. บริษัทจัดหางาน พีอาร์ทีอาร์แอนด์บิสซิเนส โปรเซสฯ จำกัด “ 298 คน
ผลการบรรจุงานสูงสุด 10 อันดับประเภท “บุคคลธรรมดา” ในปี 2556 1. สำนักงานจัดหางาน ไทยมั่นคงธุรกิจ จำนวน 299 คน 2. สำนักงานจัดหางาน ตากสินบริการ “ 174 คน 3. สำนักงานจัดหางาน เพชรเกษม ธุรกิจ “ 159 คน 4. สำนักงานจัดหางาน สกุณา ธุรกิจ “ 134 คน 5. สำนักงานจัดหางาน ชื่นจิต บริการ “ 126 คน 6. สำนักงานจัดหางาน ทรัพย์สมบูรณ์ ธุรกิจ “ 121 คน 7. สำนักงานจัดหางาน ส.รุ่งเรือง เซอร์วิส “ 115 คน 8. สำนักงานจัดหางาน พี.เอ็น บริหารงาน พี.ซี. “ 90 คน 9. สำนักงานจัดหางาน กนกวรรณ ธุรกิจ “ 73 คน 10.สำนักงานจัดหางาน โชคดีบริการ “ 43 คน
ยุทธศาสตร์และนโยบายสำคัญพิเศษยุทธศาสตร์และนโยบายสำคัญพิเศษ การจัดระบบผู้นำเข้าแรงงานต่างด้าว (Broker)
ที่มาและปัญหา มีภาคเอกชนที่ประกอบธุรกิจเป็นตัวแทนหรือนายหน้าจัดหานำแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานกับนายจ้างในประเทศไทยเกิดขึ้น โดย... ยังไม่มีมาตรการในควบคุม กำกับ การดำเนินธุรกิจดังกล่าว มีการเรียกเก็บค่าบริการจากนายจ้าง/แรงงานต่างด้าว ในอัตราที่สูง เกิดปัญหาการหลอกลวงทั้งนายจ้าง/แรงงานต่างด้าวซึ่ง อาจนำไปสู่การค้ามนุษย์
ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 9) กรณีการประกอบธุรกิจจัดหา/นำเข้าแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานกับนายจ้างในประเทศไทย เป็นการ “จัดหางาน” ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2528 ให้นำบทบัญญัติในหมวด 2 เกี่ยวกับการจัดหางานในประเทศมาบังคับใช้ได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้บัญญัติของพระราชบัญญัติการทำงาน ของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 ด้วย
กรมการจัดหางานกำหนดนโยบายกรมการจัดหางานกำหนดนโยบาย ผู้ที่ประสงค์จะประกอบธุรกิจจัดหา/นำเข้าแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานกับนายจ้างในประเทศ ต้องจดทะเบียนเป็นผู้รับอนุญาตจัดหางานในประเทศ ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติจัดหางานฯ
ควบคุม ดูแล สำนักงานจัดหางานที่ไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด เก็บค่าบริการเกินกว่ากฎหมายกำหนด เก็บค่าบริการอื่นนอกจากกฎหมายกำหนด เช่น ค่าสมัครงาน ค่าเอกสาร ค่าประกัน ค่าเครื่องแต่งตัว ไม่รับผิดชอบต่อนายจ้าง/สถานประกอบการ และคนหางาน
ขอขอบคุณทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือและเสียสละเวลา เข้าร่วมการสัมมนาในครั้งนี้ สวัสดี