1 / 32

อันตรายเขตก่อสร้างห้ามเข้า Danger! Do not Entry Construction Area

การทำงานบนที่สูงและ การป้องกันการร่วงหล่นของวัสดุ. อันตรายเขตก่อสร้างห้ามเข้า Danger! Do not Entry Construction Area. อุดร. คมสัน. ธนวธรรณ. ปรีชา. การกระทำที่ไม่ปลอดภัย. พนง.เช็ดกระจกพลาดขณะทำงาน พลัดตกจากอาคารบิ๊กซี สาขาราชดำริ ดับคาที่.

mallory
Download Presentation

อันตรายเขตก่อสร้างห้ามเข้า Danger! Do not Entry Construction Area

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทำงานบนที่สูงและ การป้องกันการร่วงหล่นของวัสดุ อันตรายเขตก่อสร้างห้ามเข้า Danger! Do not Entry Construction Area อุดร คมสัน ธนวธรรณ ปรีชา

  2. การกระทำที่ไม่ปลอดภัยการกระทำที่ไม่ปลอดภัย

  3. พนง.เช็ดกระจกพลาดขณะทำงาน พลัดตกจากอาคารบิ๊กซี สาขาราชดำริ ดับคาที่ ผู้สื่อข่าวได้รับรายงานว่า เกิดเหตุมีคนพลัดตกอาคารของห้างบิ๊กซี สาขาราชดำริ โดยหลังเกิดเหตุพลเมืองดีที่เห็นเหตุการณ์ ได้แจ้งกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ สน.ลุมพินี โดยที่เกิดเหตุพบ นายบุญมี อายุ ประมาณ 35-40 ปี พนักงานของบริษัทเช็ดกระจกบางกอกแคร์โซนิค นอนเสียชีวิตอยู่บริเวณลานจอดรถของห้าง และที่บริเวณชั้นที่ 2 ของอาคาร กระจกของห้างทะลุเป็นวงกว้าง กระจกหล่นเกลื่อนพื้นกลางที่เกิดเหตุ โดยผู้ที่เห็นเหตุการณ์เล่าว่า ขณะเกิดเหตุ นายบุญมีได้โรยตัวเช็ดกระจกของห้างจากชั้นบนสุด แต่เชือกเซฟตี้เกิดขาดและ หลุดทำให้ นายบุญมีเสียหลักร่วงลงมากระแทกกระจก และหล่นลงพื้นด้านล่างตายคาที่ อย่างไรก็ตามขณะนี้ เจ้าหน้าที่ตำรวจ ได้กันพื้นที่ดังกล่าวไม่ให้คนเข้าไปยังจุดเกิดเหตุ เพื่อเก็บรวบรวมพยานหลักฐาน และชันสูตรพลิกศพก่อนที่จะทำการเคลื่อนย้ายศพไปที่สถาบันนิติเวชต่อไป  ที่มา :INN : 20/ก.ย./2549

  4. ภาพข่าวจาก ไทยรัฐ 28 ก.ค. 2541

  5. ภาพข่าวจาก เดลินิวส์ 7 ก.ย. 2543

  6. อุบัติเหตุจากการพลัดตกบ่ออุบัติเหตุจากการพลัดตกบ่อ ภาพข่าวจาก เดลินิวส์ 12 ธ.ค. 2544

  7. อันตรายจากการตกจากที่สูงอันตรายจากการตกจากที่สูง Falls from Height การตกจากที่สูงเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในงานก่อสร้าง Falling from height is the NO.1 Killer in construction worksites.

  8. อันตรายจากการตกจากที่สูงอันตรายจากการตกจากที่สูง การป้องกันการตกจากที่สูง • จัดประเภทของการตกออกเป็น 5 ประเภท คือ • 1. ลื่น บนพื้นทางเดินเป็นผลให้เกิดการตก • 2. สะดุด บนพื้นทางเดินเป็นผลให้เกิดการตก • 3. ตกจากบันได • 4. ตกจากที่สูง • 5. การตกกระทบจากวัสดุ

  9. การป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่นการป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่น Prevention of Falling & dropping • การป้องกันที่ตัวผู้ปฏิบัติงาน (Operator Protection) - การฝึกอบรมให้กับผู้ที่ต้องขึ้นไปปฏิบัติงานบนที่สูง (Working at height training) - สุขภาพของผู้ปฎิบัติงาน (Good health) - สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล (Wear PPE)

  10. การป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่นการป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่น Prevention of Falling & dropping การป้องกันในสถานที่ทำงาน (Prevention at work location) • มีการจัดระบบงาน เพื่อจำกัดการทำงานบนที่สูง • (To set procedure to reduce working at height) • ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันการตกเพื่อลดความเสี่ยง เช่นราวกันตก แผ่นกันของตก นั่งร้าน ตาข่าย • (Install hard barricade, scaffolding, safety net, life line) • พื้นที่ทำงานต้องปราศจากปัจจัยที่จะทำให้เกิดการสะดุด ลื่น • (Working area must be free from slip & trip factor)

  11. ควรกั้นหรือปิดช่องเปิดบนพื้นให้แข็งแรงควรกั้นหรือปิดช่องเปิดบนพื้นให้แข็งแรง Openings is floors should be barricade or covered up.

  12. การป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่นการป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่น Prevention of Falling & dropping การป้องกันในสถานที่ทำงาน (Prevention at work location) • ติดตั้งหลังคาบริเวณทางเข้า-ออก อาคารเพื่อป้องกันการร่วงตกของวัสดุ Install overhead shelters for entrance-exitsto dropping protection

  13. การป้องกันอันตรายจากการร่วงหล่นของวัสดุในพื้นที่ปฏิบัติงานการป้องกันอันตรายจากการร่วงหล่นของวัสดุในพื้นที่ปฏิบัติงาน • บนพื้นที่ทำงานจะต้องไม่มีเศษวัสดุที่สามารถร่วงหล่นได้ รวมถึงมาตราการป้องกันการร่วงหล่นของวัสดุอุปกรณ์ และการจัดเก็บที่ดี • - อุปกรณ์ที่มีขนาดเล็กเช่น โบล์ท น็อต ควรใส่ในภาชนะที่แข็งแรง • - วัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดจะต้องไม่วางกีดขวางทางเดิน • - จัดเก็บเศษวัสดุที่เหลือใช้ ไว้ในภาชนะที่แข็งแรง • จัดเก็บทำความสะอาดอย่างต่อเนื่อง • ใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับงาน • ใช้เชือกผูกรัดเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงาน • ขนย้ายวัสดุอุปกรณ์อย่างถูกวิธี

  14. การป้องกันอันตรายจากการสะดุด ลื่นล้ม บนพื้นที่ทำงาน • ตรวจสอบบริเวณพื้นที่ทำงาน จะต้องปราศจากสภาพการณ์ที่จะทำให้เกิดการสะดุด ลื่นล้มบนพื้นที่ทำงาน และต้องมีการจัดเก็บที่ดี • - วัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดจะต้องไม่วางกีดขวางทางเดิน • สายไฟ สายยาง ห้ามลากผ่านพื้นทางเดิน • บริเวณช่องทางขึ้น-ลง บันได ต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง • - พื้นที่ทำงานต้องมีราวกันตกและแผ่นกันของตก • พื้นที่ทำงานต้องไม่เปียกแฉะ • พื้นที่ทำงานจะต้องไม่มีคราบ น้ำมัน จารบี • พื้นทางเดินต้องเรียบเสอมกัน • จัดเก็บทำความสะอาดอย่างต่อเนื่อง

  15. การป้องกันอันตรายจากการตกการป้องกันอันตรายจากการตก ในการเดิน เคลื่อนย้าย หรือเปลี่ยนพื้นที่ปฏิบัติงาน • จัดทำแผนการทำงาน, ขั้นตอนวิธีการทำงาน, การตรวจสอบพื้นที่และอุปกรณ์ การเตรียมอุปกรณ์หรือเครื่องจักรกลสำหรับการเคลื่อนย้ายการทำงานบนที่สูง และแจ้งถึงข้อควรระวังในการเคลื่อนย้ายตำแหน่งงาน • - จัดให้มีราวกันตก หรือเชือกนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างโดยรอบ • - จัดให้มีทางเดินชั่วคราวพร้อมราวกันตก • - ติดตั้งตาข่ายนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างที่มั่นคงแข็งแรง • ปิดกั้นบริเวณด้านล่างพื้นที่ปฏิบัติงาน • จัดเตรียมนั่งร้านหรือเครื่องจักรกลที่กำหนดไว้ในแผนงาน • สวมใส่และใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกตลอดเวลา • ห้ามเคลื่อนย้ายร่างกายบนที่สูงโดยปราศจากการเกาะเกี่ยวเข็มขัดนิรภัย

  16. การป้องกันอันตรายจากการตกในพื้นที่ที่เป็นลูกระนาบ, ลาดเอียง,ทางสัญจรและทางเดิน • จัดการป้องกันอุบัติเหตุในพื้นที่จุดเสี่ยงข้างต้น ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้บ่อยตามความคับคั่งของการสัญจร • - จัดทำราวปิดกั้นที่มั่นคง แข็งแรง • - ใช้สีแสดงให้เห็นเด่นชัดในระยะไกล • - จัดให้มีแผ่นป้องกันการลื่นไถล • จัดให้มีป้าย และสัญลักษณ์เตือนภัย • จัดให้มีตาข่ายนิรภัย

  17. การป้องกันอันตรายจากการตกในงานติดตั้งหลังคาที่มีความลาดเอียงการป้องกันอันตรายจากการตกในงานติดตั้งหลังคาที่มีความลาดเอียง • จัดทำแผนวิธีการปฏิบัติงาน แจ้งถึงข้อควรระวังแก่พนักงาน - จัดทำราวกันตกหรือเชือกนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างโดยรอบ - ติดตั้งตาข่ายนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างที่มั่นคง - ล้อมด้านล่างพื้นที่ปฏิบัติงาน - สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันการตก - มีการจัดวางวัสดุและจัดทางผ่านที่ปลอดภัย - จัดเก็บเศษวัสดุเมื่อมีการเปลี่ยนช่วงเวลาทำงาน - มีการตรวจสอบดูแลตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน - มีอุปกรณ์สื่อสารและแผนการช่วยเหลือเมื่อเกิดอุบติเหตุ

  18. จัดให้มีเชือกตาข่ายรองรับการร่วงหล่นของวัสดุจัดให้มีเชือกตาข่ายรองรับการร่วงหล่นของวัสดุ ก่อนทำการปูแผ่นสังกะสี

  19. การป้องกันอันตรายจากการตกการป้องกันอันตรายจากการตก ในพื้นที่ ที่เป็นสันขอบอาคาร และพื้นที่เปิดโล่ง จัดการป้องกันในพื้นที่จุดเสี่ยงข้างต้น และมีมาตรการป้องกันที่เข้มงวด - จัดทำราวหรือรั้วปิดกั้นที่มั่นคง แข็งแรงโดยรอบ - ใช้สีแสดงให้เห็นเด่นชัดในระยะไกล - ติดตั้งตาข่ายนิรภัย - จัดให้มีป้าย และสัญลักษณ์เตือนภัย - สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันการตก - มีแผนการช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

  20. การป้องกันอันตรายจากการตก ในพื้นที่งานขุด สำรวจพื้นที่, จัดทำแผนการดำเนินงาน และจัดให้มีใบอนุญาตในงานขุด - จัดทำราวหรือรั้วปิดกั้นที่มั่นคง แข็งแรงโดยรอบ - จัดให้มีการป้องกันการตก และการพังทลายของดิน - จัดให้มีป้าย และสัญลักษณ์เตือนภัย - ติดตั้งสัญญาณไฟเวลากลางคืน - มีแผนการช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

  21. การใช้งานกระเช้าอย่างปลอดภัยการใช้งานกระเช้าอย่างปลอดภัย • - ผู้ให้สัญญาณเครนจะต้องติดต่อกับผู้ควบคุมเครนได้ตลอดเวลา • ห้ามยื่นส่วนใดของร่างกายออกนอกกระเช้า ขณะกระเช้าเคลื่อนที่ • - เมื่อกระเช้าเคลื่อนที่ถึงจุดทำงานให้ยึดกระเช้าให้อยู่กับที่ • - หยุดการทำงานเมื่อสภาพดินฟ้าอากาศ แปรปรวน • ผู้ปฏิบัติงาน,ผู้ให้สัญญาณ,ผู้ควบคุมเครน และผู้รับผิดชอบ ต้องประชุม • เพื่อทำความเข้าใจ • - ห้ามเหยียบขอบหรือโครงสร้างกระเช้าเพื่อยืนทำงาน • - ต้องมีเชือกผูกเพื่อควบคุมการแกว่งตัวของกระเช้า • - ผู้ปฏิบัติงานต้องคล้องเข็มขัดนิรภัยตลอดเวลา • - ห้ามเครนเคลื่อนที่ขณะมีผู้ปฏิบัติงานอยู่บนกระเช้า • - ระบบควบคุมความเร็วในการ ยกกระเช้าขึ้น-ลงไม่เกิน 100 ฟุต ต่อ นาที

  22. การป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่นการป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่น Prevention of Falling & dropping อุปกรณ์ช่วยยกจะต้องได้รับการตรวจสอบก่อนนำมาใช้งาน และห้ามใช้งานเกินขีดความสามารถ Lifting gear must be inspection before use and not use over safe working load

  23. การป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่นการป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่น Prevention of Falling & dropping เครื่องมือที่นำขึ้นไปใช้งานบนที่สูงจะต้องผูกรัดด้วยเชือกเพื่อป้องกันการร่วงตก Hand tools must be provide rope to tie for falling protection

  24. การป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่นการป้องกันการตกและวัสดุร่วงหล่น Prevention of Falling & dropping จัดให้มีการตรวจสอบนั่งร้านก่อนนำมาใช้งาน และไม่ใช้งานเกินขีดความสามารถ (Scaffolding inspection before use and control capacity working load)

  25. อุปกรณ์เคลื่อนที่สำหรับการทำงานบนที่สูงอุปกรณ์เคลื่อนที่สำหรับการทำงานบนที่สูง Types of Mobile Elevating Work Platforms

  26. คุณสมบัติผู้ควบคุม:- เป็นผู้มีประสบการณ์ ผ่านหลักสูตรการอบรม และการทดสอบ

  27. การใช้งาน • ตรวจสอบทุกครั้งก่อนใช้งาน • ต้องสวมใส่ เข็มขัดนิรภัยตลอดเวลา • ต้องทำการปิดกั้นบริเวณพื้นที่ทำงาน • ห้ามใช้งานเกินขีดความสามารถของเครื่องจักร • ห้ามบังคับกระเช้าผ่านพื้นที่ที่มีผู้ปฎิบัติงานอยู่ • เก็บบูมทุกครั้งเมื่อทำการเคลื่อนย้าย

  28. หมวกนิรภัย เตรียมพร้อมก่อนขึ้นทำงาน แว่นตานิรภัย สายรัดคาง สายรัดเต็มตัว แต่กายรัดกุม ถุงมือ ถุงใส่อุปกรณ์ สวมใส่ชุดป้องกันการตกให้กระชับ ปรับให้เข้ารูปทรง เชือกผูกรัดเครื่องมือ รองเท้านิรภัย

  29. การตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันการตกการตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันการตก • การแตกร้าว • ความเสียหายจากการไหม้ไฟ • การบิดเบี้ยว ผิดรูป • การเปื่อย ฉีกขาด • การสวมใส่รุ่มร่าม • การถูกตัด เฉือน

  30. การใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกการใช้อุปกรณ์ป้องกันการตก

  31. ห้ามผูกยึดระบบป้องกันการตกส่วนบุคลกับสิ่งต่อไปนี้.-ห้ามผูกยึดระบบป้องกันการตกส่วนบุคลกับสิ่งต่อไปนี้.- • เสาค้ำยันแนวทแยงมุม • เสาค้ำยันแนวดิ่ง • ท่อสาธารณูปโภค เช่น ลม น้ำ แก๊ส • ระบบป้องกันอัคคีภัย • รางไฟ สายไฟ ตลับไฟ ท่อสายไฟ • วาล์วทุกชนิด • โครงสร้างที่ไม่แข็งแรง

  32. การคล้องเข็มขัดไม่ถูกวิธีการคล้องเข็มขัดไม่ถูกวิธี

More Related