1 / 29

กลุ่ม โรคระบบหัวใจ และหลอดเลือดเฉียบพลัน ( STEMI ) ACS

กลุ่ม โรคระบบหัวใจ และหลอดเลือดเฉียบพลัน ( STEMI ) ACS. พว . เยาว ภา ใคร่นุ่ม ภา. คํา นิยาม. กลุ่มอาการโรคหัวใจขาดเลือดที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน ประกอบด้วยอาการ สําคัญ คือ เจ็บหน้าอกรุนแรงเฉียบพลัน หรือเจ็บหน้าอกขณะพัก นานกว่า 20 นาที หรืออาการเจ็บหน้าอกซึ่งเกิดขึ้นใหม่ หรือรุนแรงขึ้นกว่าเดิม.

mcarroll
Download Presentation

กลุ่ม โรคระบบหัวใจ และหลอดเลือดเฉียบพลัน ( STEMI ) ACS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลุ่มโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดเฉียบพลัน (STEMI)ACS • พว.เยาวภา ใคร่นุ่มภา

  2. คํานิยาม • กลุ่มอาการโรคหัวใจขาดเลือดที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน ประกอบด้วยอาการสําคัญ คือ เจ็บหน้าอกรุนแรงเฉียบพลัน หรือเจ็บหน้าอกขณะพัก นานกว่า 20 นาที หรืออาการเจ็บหน้าอกซึ่งเกิดขึ้นใหม่ หรือรุนแรงขึ้นกว่าเดิม

  3. ชนิดของภาวะหัวใจขาดเลือดชนิดของภาวะหัวใจขาดเลือด • ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่พบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีลักษณะ ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 2 Leads ที่ต่อเนื่องกัน หรือเกิด LBBB ขึ้นใหม่ (ST elevation acute coronary syndrome) • ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่ไม่พบ ST segment elevation (Non ST elevation acute coronary syndrome)

  4. สาเหตุ • เกิดจากมีภาวะไขมันและเนื้อเยื่อสะสมในผนังของหลอดเลือด ทำให้เยื่อบุผนังหลอดเลือดชั้นในตำแหน่งนั้นหนาตัวขึ้น ทำให้หลอดเลือดมีการตีบแคบลง ทำให้เลือดซึ่งนำออกซิเจนไหลผ่านได้น้อยลง ส่งผลให้เลือดไหลไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้ไม่เพียงพอ จนเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ซึ่งจะทำให้มีอาการเจ็บหน้าอกเกิดขึ้น หากเกิดการอุดตันของหลอดเลือดเฉียบพลันซึ่งมักเกิดจากคราบไขมันที่สะสมอยู่ที่ผนังของหลอดเลือดชั้นในแตกออกและกลายเป็นลิ่มเลือดจะส่งผลให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันอันนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ หรือเสียชีวิตกะทันหันได้

  5. การประเมินอาการเบื้องต้นการประเมินอาการเบื้องต้น 1. Chest pain check list เกณฑ์การทำ EKG Screening 1.1 Cardiac Chest pain 1.2 Non Cardiac Chest pain

  6. Cardiac Chest pain • เจ็บหน้าอกเฉียบพลัน แน่นเหมือนโดนกดทับ • เจ็บหน้าอกด้านซ้าย หรือEpigastriumร้าวไปคาง คอ ไหล่ • เจ็บนาน 20-30 นาที เหงื่อแตก ตัวเย็น • อาการดีขึ้นถ้าอยู่เฉยๆเจ็บมากขึ้นขณะออกแรง • เคยมีประวัติอมยาแล้วดีขึ้น • ประวัติโรค DM , HT , ไขมันในเลือดสูง สูบบุหรี่ • ประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจ,หลอดเลือดสมอง

  7. Non Cardiac Chest pain • แน่นลิ้นปี่ แสบร้อน กิน-หิวแล้วแน่น => GI cause • ไข้ ไอ หอบ เจ็บหน้าอกขณะหายใจ => โรคปอดบวม • เจ็บอกบอกตำแหน่งชัด กดเจ็บชัดเจน => Costochondritis • เจ็บอกทะลุหลัง กลืนแล้วเจ็บ => Esophageal cause • เจ็บหน้าอกทะลุหลัง เจ็บตลอด เคยมีความดันโลหิตสูง วัดความดันแรกรับแขนขวาไม่เท่ากับแขนซ้าย ขาขวาไม่เท่ากับขาซ้าย => Dissecting Aneurysm

  8. 2. ผู้ป่วยที่มาด้วย typical or atypical chest pain ร่วมกับมีประวัติ ต่อไปนี้ 3 ข้อ ให้ทำ EKG ทุกราย • ผู้หญิง อายุ > 55ปี ผู้ชายอายุ> 45 ปี • Dyslipidemia • Underlying DM HT • มี HX smoking • มี Hx. IHD, on ASA, เคยทำ CABG/มีประวัติหลอดเลือดสมอง หลอดเลือดแดงอุดตัน

  9. EKG ปกติ

  10. กลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ( ACS ) 1. กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI 2.กล้ามเนื้อหัวใจตายชนิด NSTEMI 3. อาการเจ็บหน้าอกชนิดไม่คงที่ ( Unstable angina )

  11. กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน STEMI การวินิจฉัยต้องมี 3 ข้อ ดังต่อไปนี้ 1.EKG มีการยกขึ้นมากกว่า 0.1 mV ตั้งแต่ 2 leads ติดกันขึ้นไป หรือ 0.2 mV ใน chest lead หรือมีลักษณะLBBB ที่เกิดขึ้นใหม่หรือคาดว่าน่าจะเกิดขึ้นใหม่ 2. มีประวัติข้อใดข้อหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้อต่อไปนี้ 2.1. มีประวัติเจ็บหน้าอกนานกว่า 20 นาที 2.2. มีค่า Cardiac enzyme ผิดปกติอย่างน้อย 1 ข้อ -CK-MB มากกว่าหรือเท่ากับ 2 เท่าของค่า normalupper limit -Troponin –T >0.1 ng / ml. -Troponin-I >0.1 หรือ 0.2 ng / ml

  12. Non -STEMI การวินิจฉัยต่างจาก STEMI ในส่วนของ EKG คือ - มีการเปลี่ยนแปลงของ EKG เป็นแบบ ST depress หรือ inverted-T wave - สาหรับอาการเจ็บหน้าอกและผล cardiac enzymes ใช้การวินิจฉัยเหมือนกับ STEMI

  13. Unstable Angina การวินิจฉัยต้องมีทั้ง 3 ข้อดังต่อไปนี้ 1. มีการเปลี่ยนแปลงของ EKG ดังนี้ 1.1. ST segment depression >0.5 mm.(0.05 mV ) ตั้งแต่ 2 Leads ขึ้นไป 1.2. T-wave inversion >1mm ( 0.1 mV ) 2. มีประวัติเจ็บแน่นหน้าอกเข้าได้กับข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ -Angina at rest -New onset angina ( อย่างน้อยเท่ากับ CCS class 3 ) -Recent acceleration of angina (อย่างน้อยเท่ากับ CCS class 3 ) 3. Cardiac enzymes อยู่ในเกณฑ์ปกติ

  14. ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมได้ • กรรมพันธุ์ • -เพศ • - อายุ ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถควบคุมได้ • -ระดับไขมันในเลือดสูง • - การสูบบุหรี่ • - ความดันโลหิตสูง • -เบาหวาน • -Metabolic syndrome • - โรคอ้วน • -ไม่ออกกาลังกาย

More Related