1 / 51

GHS การจำแนกประเภท ตามลักษณะของอันตราย

GHS การจำแนกประเภท ตามลักษณะของอันตราย. รศ.ดร. ชมภูศักดิ์ พูลเกษ. 1. U.S.A. Hazardous Material Acts : (1972 Revised 1983) CFR Part 1910. ในช่วงต้นของการพัฒนากฎหมาย OSHA ได้กำหนดเกี่ยวกับพ.ร.บ. วัตถุอันตรายที่คลอบคลุมถึง COMPRESSED GASES SPRAY CHEMICALS COMBUSTIBLE CHEMICALS

miron
Download Presentation

GHS การจำแนกประเภท ตามลักษณะของอันตราย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. GHS การจำแนกประเภท ตามลักษณะของอันตราย รศ.ดร. ชมภูศักดิ์ พูลเกษ 1

  2. U.S.A. Hazardous Material Acts : (1972 Revised 1983) CFR Part 1910. ในช่วงต้นของการพัฒนากฎหมาย OSHA ได้กำหนดเกี่ยวกับพ.ร.บ. วัตถุอันตรายที่คลอบคลุมถึง • COMPRESSED GASES • SPRAY CHEMICALS • COMBUSTIBLECHEMICALS • EXPLOSIVE & BLASTING AGENTS เน้นทางด้านวิศวกรรม : การควบคุมการใช้,การหกรั่วไหล,ภาวะฉุกเฉิน, ฝึกอบรม,ดับเพลิง 2

  3. U.S.A. TOXIC & HAZARDOUS SUBSTANCE. ( CFR : 1910 Revised 1994) สารพิษและสารอันตราย • Carcinogen • Mutagen • Teratogen • Acute & Chronic • Health Surveillance • Dermatitis • TLVs & BLV ( BEI) • Toxicological Test 3

  4. HCS HAZARD COMMUNICATION STANDARD • มาตรฐานการแจ้งเหตุอันตรายมีไว้เพื่อปิดช่องว่างของประชากร แต่ละอาชีพ • ต้องการให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องเข้าใจซึ่งกันและกันมากที่สุด • เป็นวิธีการหนึ่งที่จะทำให้เกิดการประสานงาน & ปฏิบัติงานร่วมกัน • เป้าหมายคือการป้องกันอุบัติเหตุร้ายแรง 4

  5. HCS • Purpose • Scope & Application • Definitions • Hazard Determination • Communication Program (Written) • Labels & Warning • MSDS • Information & Training HCS: CFR 1988. 5

  6. SARA-TITLE (Emergency Planning and Community Right to know Act 1986). OSHA & EPA Agreement 6

  7. ประเทศในสหภาพยุโรป ได้มีการพัฒนาระบบการจัดการเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย, สารพิษและวัตถุอันตรายมานานพอๆกับประเทสสหรัฐอเมริกา • มีกฎหมายแยกเฉพาะสารอันตราย (Dangerous Substance) • ของผสมอันตราย (Dangerous Preparation) • สินค้าอันตราย (Dangerous Goods) • มีกฎหมายเฉพาะ Transportation Laws (เช่นเดี่ยวกับ U.S.A.) • มี Substance Lawsควบคุมการใช้ในสถานประกอบการและการเคลื่อนย้าย เช่นเดียวกับ OSHA • มีกฎหมายเกี่ยวกับ ระบบการบริหารความปลอดภัย(+SDS) • ระบบการจัดการข้อมูลกรณีฉุกเฉิน • ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 7

  8. ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสถานประกอบการส่วนที่เกี่ยวข้องกับสถานประกอบการ • ข้อความบอกความเสี่ยง (R-Phases) • พิจารณาผลจากความเป็นอันตรายทางกายภาพ และความเป็นพิษเฉียบพลันและเรื้อรัง • ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง • ประเภทของสินค้าอันตรายตามการขนส่ง (Transport Classes) • พิจารณาผลจากความเป็นอันตรายทางกายภาพ และความเป็นพิษเฉียบพลัน ในส่วนของประเทศยุโรปได้มีการแบ่งแยกระหว่างกฏหมายทั้งสองไว้ดังรูปต่อไปนี้ • ปะเภทของสารอันตรายตามการจัดเก็บ (Storage Classes) • พิจารณาถึงการจัดเก็บ จัดแยกเอกสารอันตราย • (segregation and separation) สำหรับรายละเอียดของข้อความบอกความเสี่ยง( R-Phases)ได้แสดงไว้ในภาคผนวก ก สำหรับประเภทของสารอันตรายตามการจัดเก็บ (Storage Classes) ได้แสดงไว้ในภาคผนวก ข สำหรับประเภทการขนส่งสินค้าอันตรายตามการขนส่ง(Transport Classes) ได้แสดงไว้ในภาคผนวก ค 8

  9. GHS ประเด็นที่จะต้องจัดทำให้เป็นมาตรฐานเดี่ยวกันทั่วโลก • รองรับผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปจำนวนมากกว่าเจ็ดหมื่นชนิดทั่วโลก • มีระบบจำแนกที่ถูกหลักวิชาการ • มีการติดป้าย & คำเตือนให้เข้าใจง่าย • มีเอกสารประกอบ SDS • เน้นการฝึกอบรม & การทำให้เกิดความเข้าใจ • ควบคุมสาร Mixture (ของผสม/สารผสม) 9

  10. The Globally Harmonized System(GHS) for classification and labeling will provide an internationally agreed system for hazard classification of chemical products and for communication of those hazards. 10

  11. ประเด็นพื้นฐานของปัญหาที่เกิดขึ้นประเด็นพื้นฐานของปัญหาที่เกิดขึ้น • มีการจำแนกตามลักษณะงาน :ขนส่ง :จัดเก็บ :อุตสาหกรรม :ฉุกเฉิน และผู้บริโภค • การจำแนกมีความไม่ชัดเจน :อิงวัตถุ :อิงปัญหา :อิงสารพิษ :ไม่ระบุ • สารผสม (Mixture) ขาดข้อมูลเชื่อมโยง • ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน (ขึ้นกับ Expert) • HCS ไม่ถูกนำมาใช้อย่างสมบูรณ์ และขาด Authority 11

  12. GHS will be classified according to their physical (flammability), health (Toxicological & Environmental Hazards) 12

  13. United Nations Conference on Environment and Development,(UNCED)Agenda 21 ระบบการจำแนกประเภทความเป็นอันตรายและการติดฉลากที่ถูกต้องเป็นระบบเดียวกันทั่วโลก ซึ่งประกอบด้วยเอกสารความปลอดภัยของประเทศนั้นๆ และสัญลักษณ์ที่สามารถเข้าใจได้ง่าย ควรจัดให้มี(ถ้าเป็นไปได้) ภายในปี คศ. 2000 13

  14. งานนี้แล้วเสร็จในปี คศ. 2001 (พ.ศ. 2544) ทาง IOMC ได้ผ่านงานให้คณะอนุกรรมาธิการ ผู้เชี่ยวชาญของสภาเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติว่าด้วยระบบการจำแนกประเภทสารเคมี ให้เป็นระบบเดียวกันทั้งโลก (UNSCEGHS) 14

  15. Labels and safety data sheets (SDS) are the core tool of the GHS hazard communication system. 15

  16. Risk Possible & Probit (Probability ) To Have To Get EVENT , CONDITION , DISEASE EVENTS , CONDITIONS , DISEASES 16

  17. Have not Event (S), Condition(s), Disease (s) Get no Risk FREE SAFETY 17

  18. Risk Assessment is a Process OSHA for worker R.S EPA for Community WTO for Product & Consumer 18

  19. ระบบ GHS ไม่ได้ถูกจัดทำขึ้นมาเพื่อประเมินความเสี่ยงให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน การประเมินความเสี่ยงยังคงต้องมีหลักการเดิมของมัน • SAFETY RISK • HEALTH RISK 19

  20. ความเสี่ยง (Risk) = ความเป็นอันตราย (Hazard  การได้รับสัมผัสสาร(Exposure)) 20

  21. Expose ขึ้นกับ Space  Time 21

  22. อันตราย ระบบ GHS หมายถึง • อันตรายด้านกายภาพ • อันตรายด้านสุขภาพ • อันตรายด้านสิ่งแวดล้อม 22

  23. Building Block Approach การจัดทำโครงการให้เป็นขั้นตอน แต่ละประเทศมีความอิสระที่จะกำหนดส่วนต่างๆที่จะใช้ในการทำระบบ แต่ต้องเป็นไปในลักษณะเดียวกัน 23

  24. 24

  25. 25

  26. 26 /-

  27. หลักเกณฑ์การแยกประเภทสารเคมีและเทคนิคการทดสอบหลักเกณฑ์การแยกประเภทสารเคมีและเทคนิคการทดสอบ 1. แยกตามอันตรายทางกายภาพ2. แยกตามอันตรายทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อม 27

  28. GHSกลุ่มที่ Iแยกตามอันตรายทางกายภาพ จำนวน 16 ประเภท 28

  29. GHS - Physical Hazards 29

  30. GHS - Physical Hazards 30

  31. GHS - Physical Hazards 31

  32. GHS - Physical Hazards 32

  33. GHS - Physical Hazards 33

  34. GHSกลุ่มที่ II แยกตามความเป็นอันตรายทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจำนวน 10 ประเภท 34

  35. GHS - Health and Environmental Hazards 35

  36. GHS - Health and Environmental Hazards 36

  37. GHS - Health and Environmental Hazards 37

  38. GHS - Health and Environmental Hazards 38

  39. Allocation of label elements for GHS hazard classes 39

  40. 40

  41. 41

  42. 42

  43. 43

  44. 44

  45. 45

  46. 46

  47. 47

  48. 48

  49. 49

  50. 50

More Related