1 / 16

Eclampsia

Eclampsia. Dr.Pramote Srikaew MD. Dip.Thai Broad OB-GYN Dip.Thai Broad Preventive Medicine. Hypertensive disorder in pregnancy. Gestational hypertension Preeclampsia Eclampsia Chronic Hypertension Superimposed preeclampsia on Chronic HT. Eclampsia. ภาวะครรภ์เป็นพิษร่วมกับมีการชัก

morrison
Download Presentation

Eclampsia

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Eclampsia Dr.PramoteSrikaew MD. Dip.Thai Broad OB-GYN Dip.Thai Broad Preventive Medicine

  2. Hypertensive disorder in pregnancy • Gestational hypertension • Preeclampsia • Eclampsia • Chronic Hypertension • Superimposed preeclampsia on Chronic HT

  3. Eclampsia • ภาวะครรภ์เป็นพิษร่วมกับมีการชัก • เกิดได้ทั้งใน mildและ severe preeclampsia • ชักประมาณ 60-90 วินาที • เกิดขึ้นใน third trimester ทั้งในระยะ antepartum53% , intrapartum 19% และpostpartum 28% • Late eclampsiaชักได้ถึง 48ชั่วโมงหลังคลอด

  4. ความเสี่ยง • รกรอกตัวก่อนกำหนด(abruptioplaceta) • การทำงานของระบบประสาทผิดปกติ • ปอดบวมน้ำ(pulmonary edema) • ไตวาย • Embolism • Circulatory failure

  5. ลักษณะทางคลินิก • Generalized tonic-clonic seizure กล้ามเนื้อเกร็งสลับกับคลายประมาณนาที แล้วกล้าเนื้อคลายตัว • ถ้าชักบ่อย ทำให้ coma, brain edema • อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น • เขียว • มีไข้ได้ • ปัสสาวะออกน้อย • อาการบวม ความดันโลหิตสูง proteinuria จะเป็นปกติภายใน 1-2สัปดาห์

  6. ลักษณะทางคลินิก • หัวใจล้มเหลว ปอดบวมน้ำ • ตาบอด หรือ มองไม่ชัด 10%จาก retinal detachment หรือ occipital pole infarction • Psychosis • ตายจาก intracranial hemorrhage หรือ trantentorialherniation • ทารก อาจมี fetal bradycardia ได้ในช่วงชัก แต่ถ้ามีตลอดให้ระวัง รกลอกตัวก่อนกำหนด

  7. การรักษา Eclampsia • การป้องกันชัก • ลดความดันโลหิตสูง • การให้สารน้ำ • การยุติการตั้งครรภ์

  8. การป้องกันชัก Magnesium sulfate ตามตารางการให้ยา ภาวะแทรกซ้อน ระดับในเลือด(meq/l) • ระดับป้องกันชัก 4-7 • Deep tendon reflex หายไป 10-12 • กดการหายใจ(respiratory depression) >15 • Cardiac arrest >25 • Antidote ; calcium gluconate 10 cc. iv. push ช้า

  9. ข้อควรระวังในการให้ MgSO4 • ถ้าไตเสื่อม ไม่ต้องปรับ loading dose และแต่ให้ maintenance dose น้อยกว่า 1 กรัมต่อชั่วโมง • ถ้าชักซ้ำ ให้ MgSO4เพิ่มอีก 2กรัม • ในรายที่ให้ MgSO4 ไม่ได้ เช่นเป็นโรคไตรุนแรง myasthenia gravis หรือ PPHอาจพิจารณาให้ phenytoin diazepam5-10 mg.หรือlorazepam 4 mgหรือ pentobarbital 125 mg. iv. 2-5 นาที

  10. การให้ยาลดความดันโลหิตการให้ยาลดความดันโลหิต • ในรายที่ BP> 150/100 mmHg เพื่อให้ได้ เป้าหมาย DBP 80-100 mmHg, SBP <150 mmHg. Antehypertensive drug เช่น • Labeterol 20 mg iv. then 20-80 mg iv. q 30 min. ( i.v. drip 1-2 mg/min) max 300 mg/day • Hydralazine(C) 5mg.iv. or im. Then 5-10 mg iv. q 20-40 min( iv. drip 0.5-10 mg/hr.) • Nifedipine(c ) 10-30 mg oral prn q 45 min.

  11. การควบคุมปริมาณสารน้ำในร่างกายการควบคุมปริมาณสารน้ำในร่างกาย • จำกัดสารน้ำ ไม่เกิน 80 cc/hr. ยกเว้น ขาดน้ำหรือ ตกเลือด • ไม่ควรให้ fluid expansion • invasive hemodynamic monitoring ในราย pulmonary edema , severe kidney disease , refractory hypertension, ปัสสาวะออกน้อย

  12. การยุติการตั้งครรภ์ • เป็นข้อห้ามในการดูแลแบบประคับประคอง (expectant management) • เลือกช่องทางคลอดให้เหมาะสมในแต่ละราย

  13. การดูแลระยะหลังคลอด • เฝ้าระวังอาการชักภายหลังคลอด • ในรายที่ไม่ได้ความยาลดความดันโลหิตช่วงตั้งครรภ์ • ในรายที่ได้ยาลดความดันโลหิตขณะเจ็บครรภ์คลอด วัด BPทุกวันอย่างน้อย 2สัปดาห์ จนเป็นปกติ • เริ่มให้ยาลดความดันโลหิต เมื่อ BP 150/100 mmHg • ในรายที่ได้ยาลดความดันขณะตั้งครรภ์ ให้ยาลดความดันโลหิตต่อ เป้าBP<130/90 mmHg ให้เปลี่ยน methyldopaเป็น labeterol, nifedipine, enalapril, atenolol , metropololได้

  14. การติดตามหลังคลอด • กรณีใช้ยาลดความดันโลหิตต่อเกิน 6 สัปดาห์ ให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ • นัดติดตามหลังคลอด 6-8 สัปดาห์

More Related