800 likes | 1.37k Views
Construction Management. ดร . เทอดธิดา ทิพย์รัตน์ บัณฑิตวิทยาลัย การจัดการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. การบริหารเวลาที่ใช้ในโครงการ ( Project time management). 1 การกำหนดกิจกรรมที่ต้องทำ ( Activity Definition) 2 การกำหนดลำดับกิจกรรมที่ต้องทำ ( Activity Sequencing)
E N D
Construction Management ดร.เทอดธิดา ทิพย์รัตน์ บัณฑิตวิทยาลัย การจัดการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การบริหารเวลาที่ใช้ในโครงการ (Project time management) • 1 การกำหนดกิจกรรมที่ต้องทำ (Activity Definition) • 2 การกำหนดลำดับกิจกรรมที่ต้องทำ (Activity Sequencing) • 3 การประมาณระยะเวลาของกิจกรรมที่ต้องทำ (Activity Duration Estimating) • 4 การสร้างตารางเวลาในการดำเนินกิจกรรม (Schedule Development) • 5 การควบคุมให้เป็นไปตามตารางเวลา (Schedule Control) ตัวอย่าง รายการโครงสร้างงาน(WBS) สนามบินสุวรรณภูมิ
WBS แผนงาน (Project Plan) ผจก. โครงการ ระบบข้อมูลและเอกสาร x Y Z งบประมาณ-ทรัพยากร แผนหลัก (Main Project) แผนย่อย (Sub Project) แผนแก้ปัญหา การวางแผนโครงการ 1.กำหนดวัตถุประสงค์ 2.รายการส่งมอบและ รายการโครงสร้างงาน 3.จัดองค์กรและการทำงาน 4.กำหนดระบบงาน-เอกสาร 5.ทำตารางเวลา 6.วิเคราะห์ความเสี่ยง
S T U Y V X ตารางเวลา กิจกรรมS-ถมพื้น Inputs - ทราย Outputs- พื้นที่ราบ Cost-23 ล้าน Schedule-12 ก.ค.2545 Resources- บริษัท21 ตัวอย่าง รายการโครงสร้างงาน(WBS) สนามบินสุวรรณภูมิ งานก่อสร้างสนามบิน LS-งานปรับพื้นที่ แต่ละงานสามารถจะนำไปแตกย่อยเป็นกิจกรรมย่อยๆ เพื่อจัดทำตารางเวลาการทำงาน S-ถมพื้น T-ขุดร่องน้ำ U- ฝังท่อ V- ราดยางยะตอย X- รถบดถนน Y- ตีเส้นทางเดินรถ
การวางแผนโครงการ ตัวอย่าง - ระบุผลิตภัณฑ์ที่ส่งมอบ โครงการมู่บ้าน/ชุมชนเฉลิมพระเกียรติปลอดยาเสพติด รายการส่งมอบเมื่อสิ้นสุดโครงการ • รายชื่อชุมชนอย่างน้อย 4,000 แห่งได้รับการประกาศรับรอง • ประชาคมเครือข่ายอย่างน้อย 4,000 แห่งได้รับการจัดตั้ง • อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน 4,000 แห่ง ผ่านการฝึกอบรม
การวางแผนโครงการ ตัวอย่างรายการโครงสร้างงาน(WBS)
วางแผนงานก่อสร้าง - ทำ WBS งานก่อสร้าง- ทำ Coding WBS ให้รหัสงาน- จัดองค์กร ในหน่วยงานก่อสร้าง- นำ WBS ที่เสร็จแล้วมาจัดแบ่งงานให้บุคลากร- กำหนด Job description ของแต่ละคน- จาก WBS นำมาพิจารณาประกอบกับ BOQ ที่ใช้ตอนประกวดราคา แล้วจัดทำเป็น BOQ แบบแยกรายละเอียด
ขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้างขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้าง - จาก WBS ทำ Work Package นั่นคือรายละเอียดของงานย่อยทุกงาน- ทำการประมาณทรัพยากรตามที่มีว่า งานแต่ละงานจะใช้ทรัพยากรเท่าไรบ้าง - ประมาณระยะเวลาตามทรัพยากรที่กำหนด โดยใช้ประสบการณ์ประกอบกับอัตราการทำงานมาตรฐาน ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อระยะเวลาอยู่ที่ จำนวนแรงงาน และเครื่องมือเครื่องจักร- บันทึกทุกอย่างลงใน Work Package
ขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้างขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้าง - ทำการประมาณค่าใช้จ่าย โดยคิดจากทรัพยากรที่ใช้ เช่น แรงงานกี่วัน เครื่องจักรกี่วัน และวัสดุเท่าไร- ทำการตรวจสอบกับ BOQ รายละเอียดที่จัดทำไว้ข้างต้นว่า ค่าใช้จ่ายที่วางแผนว่าจะทำงานนั้น สูงหรือต่ำกว่าราคาที่ประกวดมาได้ ถ้ามีข้อแตกต่างที่เห็นชัดเจนต้องทำเนินการวางแผนแก้ไขทันที
ขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้างขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้าง - จาก Work Package ที่ทำเสร็จแล้ว ให้ทำมาสร้างแผนหลักของโครงการเพื่อตรวจสอบวันที่โครงการจะแล้วเสร็จ - Barchart (Gantt Chart), CPM, PDM- พิจารณาวันสิ้นสุดโครงการและแผนโครงการโดยรวมว่าเป็นที่น่าพอใจหรือไม่ ถ้าไม่พอใจให้ปรับแผนงาน โดยปรับที่จำนวนทรัพยากรด้วย
ขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้างขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้าง - จาก Barchart นำมาจัดทำ Cashflow สำหรับโครงการโดยพิจาณาเอกสารสัญญาการเบิกจ่ายงวดงานประกอบด้วย ว่าจะต้องใช้ เงินหมุนเวียนอย่างน้อยประมาณเท่าไรสำหรับโครงการ- ถึงจุดนี้ท่านอาจปรับแผนระยะเวลาและพิจาณาค่าใช้จ่ายไปพร้อมๆกัน
ขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้างขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้าง - เมื่อแผนระยะเวลาและค่าใช้จ่ายเป็นที่น่าพอใจแล้ว ให้ท่านจัดทำแผนการใช้ทรัพยากร (ปฏิทินการใช้ทรัพยากร) ขึ้นเพื่อให้ทราบได้ว่าต้องการอะไรเวลาใดบ้างสำหรับทรัพยากรทุกชนิด- จัดทำ To do List เพื่อการจัดหาทรัพยากรเข้าโครงการ ให้เผื่อเวลาสำหรับทรัพยากรแต่ละประเภทให้พอเพียง Confirm อย่างน้อย 2 สัปดาห์ให้แน่ใจว่าเราจะมี คนงาน วัสดุ และเครื่องจักร ครบถ้วนก่อนงานทุกงานจะเริ่ม
ขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้างขั้นตอนการทำแผนงานก่อสร้าง - เมื่องานเริ่มดำเนินไป ต้องบันทึกความก้าวหน้าในทุกประเด็นคือ เวลา คุณภาพ ทรัพยากรที่ใช้ และค่าใช้จ่าย เพื่อนำมาเปรียบเทียบกับแผนงานที่วางไว้ เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ของโครงการในขณะนั้น จะได้ตัดสินใจ แก้ไขได้ทัน- แสดงความก้าวหน้าใน BARCHART - ปรับแผนงานถ้าจำเป็น- โดยทั่วไปจะจัดประชุม อาทิตย์ละ 1 ครั้ง เพื่อแก้ไขปัญหา ดังนั้นรายงานต้องเสร็จก่อนการประชุม 1 วัน
เทคนิคการบริหารโครงการเทคนิคการบริหารโครงการ • Gantt Chart • PERT/CPM Chart
Gantt Chart • พัฒนาขึ้นโดย Henry L. Gantt ในปี 1917 • เป็นกราฟแท่งในแนวนอนซึ่งแสดงขอบเขตของระยะเวลาของกิจกรรมแต่ละขั้นตอน • โดยรายชื่อกิจกรรมจะถูกแสดงไว้ในแนวตั้งทางด้านซ้ายมือ • ระยะเวลาการทำงานจะแสดงในแนวนอนของแผนภาพ
PERT/CPM Chart • CPM Chart : Critical Path Method • PERT Chart : Project Evaluation and Review Technique Chart
Activity A is an immediate predecessor of activity B, because it must be competed just prior to the commencement of B. A B From the activity description chart, we can determine immediate predecessors for each activity.
The PERT/CPM Approach for Project Scheduling • The PERT/CPM approach to project scheduling uses network presentation of the project to • Reflect activity precedence relations • Activity completion time • PERT/CPM is used for scheduling activities such that the project’s completion time is minimized.
C B E 0,90 F H G D 194 A EARLIEST FINISH J I Earliest Start / Earliest Finish – Forward Pass 170 90,105 105,110 149,170 B 15 C 5 E 21 110,124 90,115 177 149,177 129,149 115,129 F 25 G 14 D 20 H 28 A 90 120,165 194 149,194 90,120 J 45 I 30
Latest Start / Latest Finish – Backward Pass 149,170 173,194 105,110 90,105 E 21 E B 15 B C 5 C 110,115 95,110 129,149 149,177 90,115 115,129 129,149 90, 115 115,129 153,173 166,194 5,95 129,149 0,90 129,149 146,166 F F 25 D 20 D H 28 H G G 14 129,149 0,90 A 90 A 129,149 194 129,149 129,149 129,149 129,149 29,119 149,194 90,120 149,194 119,149 J 45 J I I 30
Slack Times • Slack time is the amount of time an activity can be delayed without delaying the project completion date, assuming no other delays are taking place in the project. Slack Time = LS - ES = LF - EF
Slack time Critical activities must be rigidly scheduled
The Critical Path • The critical path is a set of activities that have no slack, connecting the START node with the FINISH node. • The critical activities (activities with 0 slack) form at least one critical path in the network. • A critical path is the longest path in the network. • The sum of the completion times for the activities on the critical path is the minimal completion time of the project.
The Critical Path 105,110 149,170 90,105 E 21 E B 15 B C 5 C 110,115 173,194 95,110 149,177 90,115 115,129 129,149 0,90 0,90 129,149 90, 115 115,129 166,194 F F 25 D 20 D H H 28 G G 14 A A 90 149,194 90,120 149,194 119,149 J 45 J I I 30
CPM Chart • เป็นแผนภาพแสดงกิจกรรมของโครงการที่เชื่อมโยงกันในลักษณะเครือข่าย (ข่ายงาน) ทำให้ทราบว่าต้องดำเนินกิจกรรมใดให้เสร็จสิ้นก่อนกิจกรรมถัดไป
CPM Chart • เหมาะสำหรับโครงการที่เคยเกิดขึ้นแล้วในอดีต ทำให้มีข้อมูลเพื่อกำหนดระยะเวลาของกิจกรรมได้เป็นที่แน่นอน (Deterministic)
ติดตั้ง โปรแกรม ออกแบบรายงาน จัดทำเอกสาร 6 5.5 1 5 2 8 7 5 4 3 2 1 6 ออกแบบ ฐานข้อมูล 5 3 6 ออกแบบหน้าจอ เขียนโปรแกรม ทดสอบ โปรแกรม CPM Chart
Critical Path : เส้นทางวิกฤต • หมายถึง เส้นทางที่ใช้เวลาในการดำเนินกิจกรรมรวมของโครงการนานที่สุด และกิจกรรมที่อยู่บนเส้นทางวิกฤตจะเรียกว่า กิจกรรมวิกฤต Critical Activity
The Probability Approach to Project Scheduling • Activity completion times are seldom known with 100% accuracy. • PERT is a technique that treats activity completion times as random variables. • Completion time estimates are obtained by theThree Time Estimate approach
The Probability Approach – Three Time Estimates • The Three Time Estimateapproach provides completion time estimate for each activity. • We use the notation: a = an optimistic time to perform the activity. • m = the most likely time to perform the activity. • b = a pessimistic time to perform the activity.
The Distribution, Mean, and Standard Deviation of an Activity Approximations for the mean and the standard deviation of activity completion time are based on the Beta distribution.
The Project Completion Time Distribution - Assumptions To calculate the mean and standard deviation of the project completion time we make some simplifying assumptions.
Variance = Sum of completion time variances along the critical path. Standard deviation = ÖVariance The Project Completion Time Distribution The three assumptions imply that the overall project completion time is normally distributed, the following parameters: Mean = Sum of mean completion times along the critical path.
PERT Chart • เป็นแผนภาพแสดงกิจกรรมของโครงการที่เชื่อมโยงกันในลักษณะของเครือข่าย (ข่ายงาน) ทำให้ทราบว่าจะต้องดำเนินกิจกรรมใดให้เสร็จสิ้นก่อนกิจกรรมถัดไป • โดยแต่ละกิจกรรมจะแทนด้วยเส้นลูกศร และเชื่อมโยงกันด้วยวงกลม (เรียกว่า โหนด) เพื่อบอกให้ทราบถึงจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของแต่ละกิจกรรม
PERT Chart • เหมาะสำหรับโครงการใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นเลย • การกำหนดเวลากิจกรรมของ PERT Chart จึงเป็นการกำหนดในรูปของความน่าจะเป็น (Probabilistic)
ออกแบบ ฐานข้อมูล จัดทำ เอกสาร 5.5 2 ออกแบบ หน้าจอ 6 รวบรวม ความต้องการ ติดตั้ง โปรแกรม 1 เขียนโปรแกรม 5 1 5 7 2 3 8 5 6 4 6 ออกแบบ รายงาน ทดสอบ โปรแกรม 3 PERT Chart
การหาเส้นทางวิกฤต • เป็นการหาเส้นทางที่ใช้เวลานานที่สุดและเหลือเวลาน้อยที่สุด • ต้องทราบระยะเวลาโดยประมาณของแต่ละกิจกรรม กำหนดได้ 2 วิธี • Deterministic • Statistic
การกำหนดระยะเวลาด้วย Statistic • แยกแยะกิจกรมของโครงการ • กำหนดกิจกรรมที่ต้องดำเนินให้เสร็จสิ้นก่อนดำเนินกิจกรรมต่อไป • กำหนดระยะเวลาทั้งหมด 3 ค่า • เวลาทำกิจกรรมให้เสร็จสิ้นเร็วสุด Optimistic • เวลาทำกิจกรรมให้เสร็จสิ้นช้าสุด Pessimistic • เวลาทำกิจกรรมให้เสร็จสิ้นที่เป็นไปได้มากที่สุด Realistic
การกำหนดระยะเวลาด้วย Statistic • นำค่าทั้ง 3 มาคำนวณหาค่าใช้จริงเพียงค่าเดียว เรียกว่า ค่าระยะเวลาคาดหวัง Expected Time โดยใช้สูตร ET = o + 4r + p 6
The Probability Approach • Management is interested in information regarding the completion time of the project. • The probabilistic nature of the completion time must be considered.
s2 Finding activities’ mean and variance mA =[76+4(86)+120]/6 = 90 sA = (120 - 76)/6 = 7.33 sA2 = (7.33)2 = 53.78
Finding mean and variance for the critical path • The mean times are the same as in the CPM problem, previously solved for KLONE. • Thus, the critical path is A - F- G - D – J. • Expected completion time =mA +mF +mG +mD +mJ=194. • The project variance =sA2 +sF2 +sG2 +sD2 +sJ2 = 85.66 • The standard deviation = = 9.255 s2
194 The Probability Approach – Probabilistic analysis • The probability of completion in 194 days =
m ± s z 0.025 .95 m The Probability Approach – Probabilistic analysis • An interval in which we are reasonably sure the completion date lies is • The interval is = 194 ± 1.96(9.255) @ [175, 213] days. • The probability that the completion time lies in the interval [175,213] is 0.95.
? 210 1.73 194 0 X Z The Probability Approach – Probabilistic analysis • The probability that the completion time is longer than 210 days = 0.0418 .4582
.49 0.01 194 0 X0 2.33 X Z The Probability Approach – Probabilistic analysis • Provide a completion time that has only 1% chance to be exceeded. There is 99% chance that the project is completed in 215.56 days. P(X³X0)= 0.01, or P(Z ³ [(X0 – m)/s] = P(Z³ Z0) = .01 P(Z ³ 2.33) = 0.01; X0=m+Z0s =194 + 2.33(9.255) = 215.56 days.