820 likes | 2.18k Views
พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes). พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes) - พยาธิใบไม้ตับ เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในท่อน้ำดีใน ตับ และท่อน้ำดีใหญ่ของโฮสต์ Family Opisthorchiidae Clonorchis sinensis Opisthorchis viverrini Opisthorchis felineus. Family Fasciolidae Fasciola hepatica
E N D
พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes)
พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes) • - พยาธิใบไม้ตับ เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในท่อน้ำดีใน • ตับ และท่อน้ำดีใหญ่ของโฮสต์ • Family Opisthorchiidae • Clonorchis sinensis • Opisthorchis viverrini • Opisthorchis felineus
Family Fasciolidae • Fasciola hepatica • Fasciola gigantica • Family Dicrocoelidae • Dicrocoelium dendriticum • Eurytrema pancreaticum
Family Opisthorchiidae • Clonorchis sinensis • Opisthorchis viverrini • Opisthorchis felineus • - รูปร่าง คล้ายกันคือ มีลักษณะเป็น Lancet shape • - ขนาด ของ Clonorchis sinensis ใหญ่ที่สุด
ลักษณะของ Reproductive organ • 1. Oval Ovary • 2. Testes • Clonorchis sinensis เป็น branch • Opisthorchis viverriniเป็น lobe • Opisthorchis felineus เป็น lobe
3. Vitelline gland • Clonorchis sinensis เป็น cluster • Opisthorchis viverriniเป็น transverse • Opisthorchis felineus เป็น branch • ลักษณะของไข่ มีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงกัน
Opisthorchis viverrini Clonorchis sinensis
- การแพร่กระจาย • Clonorchis sinensis พบในประเทศ จีน • ไต้หวัน ญี่ปุ่น และไทย • Opisthorchis viverrini พบใน ลาว ไทย และ • เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ • Opisthorchis felineus พบในแถบยุโรป
Opisthorchis viverrini • การแพร่กระจาย (Distribution) • - พบทุกจังหวัดใน ภาคตะวันออกเฉียง • เหนือของประเทศไทย และบางจังหวัดของ • ภาคเหนือ • - พบในประเทศ ลาว และในแถบเอเซีย • ตะวันออกเฉียงใต้
รูปร่าง (Morphology) - รูปร่าง แบบ Lancet-shape (Posterior ป้านกว่า Anterior) - ตัวมีลักษณะใส โปร่งแสง และมี uterus ออกสีเทาดำ - ขนาด ยาว 5.5-9.6 mm , กว้าง 0.8-1.7 mm - sucker 2 อัน ขนาดพอๆกัน - Excretory bladder เป็น sac-like tube ยาวๆ - Testes 2 อัน เป็น lobe - ไข่สีน้ำตาลอ่อน มีOperculum , Shoulder , Knob (ขนาด19-29 X 12-17 um) - พยาธิ 1 ตัว ออกไข่ 2000-4000 ใบ/วัน
วงชีวิต (Life cycle) - Adult อาศัยอยู่ในท่อน้ำดีในตับ ของ Definitive host (พบใน คน,สุนัข และแมว) - ไข่ถูก หอย (1st I.H. = Bithynia spp.) กิน - ภายในหอยมีการเจริญเติบโตจนกระทั่ง ปรสิตกลายเป็นระยะ cercaria
- cercaria จะไชเข้าสู่ 2nd I.H. ซึ่งได้แก่ • ปลาน้ำจืด พวก • ปลาแม่สะแด้ง (Cyclochellicthys siaja) • ปลาตะเพียนทราย (Hampala dispar) • ปลาสูตร (Puntius orphoides) • - ในปลา ปรสิต จะเปลี่ยนแปลงไปเป็น • metacercaria เมื่อคนกินจะได้รับปรสิต • กลายเป็นตัวแก่ในท่อน้ำดีต่อไป
Adult ในท่อน้ำดีในตับของ D.H. ไข่ ถูก หอย กิน cercaria ไชเข้าปลา metacercaria ในปลาดิบ
ระบาดวิทยา (Epidemiology) - พบการระบาด ในช่วง ปลายฤดูฝน (กันยายน – พฤศจิกายน) ฤดูร้อน (กุมภาพันธ์ – มีนาคม) - พบการติดเชื้อใน เด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ ประมาณ 35% อายุ 10 ปี - ผู้ใหญ่ ประมาณ 80 – 90%
พยาธิวิทยา (Pathology) - การเปลี่ยนแปลงของพยาธิสภาพจะเห็นได้ชัด เมื่อมีพยาธิมากๆ หรือมีพยาธิเป็นเวลานาน - พยาธิตัวแก่ไปอุดตันท่อน้ำดีส่วนปลาย
- จะรุนแรงมากขึ้นเมื่อมีอาการแทรกซ้อน ได้แก่ • 1. การขาดโปรตีน • 2. พิษสุราเรื้อรัง • 3. ตับอักเสบ (ไวรัส) • 4. เนื้องอกในตับ • ความรุนแรงของโรคจะทำให้เกิดตับแข็ง • และตับวาย ในที่สุด
อาการ (Sign and Symtom) • - มีอาการมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนของพยาธิ • ระยะเวลา พยาธิสภาพของตับ และโรคอื่นที่แทรกซ้อน • 1. ชนิดไม่ปรากฏอาการ • มีพยาธิ ประมาณ 100-200 ตัว พบไข่น้อยมาก • 2. อาการอย่างอ่อน • ผู้ป่วยรู้สึก ร้อนๆทางใต้ชายโครงขวา มีท้องขึ้น • ท้องเฟ้อเป็นครั้งคราว • พบไข่ 1000 ใบ ในอุจจาระ 1 กรัม
3. อาการปานกลาง • ผู้ป่วยมีอาการท้องขึ้น ท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อยเป็นประจำ มีอาการเจ็บตื้อๆ และรู้สึกร้อนๆบริเวณตับ ตับสามารถคลำพบ กดเจ็บ อุจจาระบ่อย และสลับกับท้องผูก อาจพบมีอาการไข้ต่ำๆ และมีดีซ่านได้ด้วย • พบไข่ 3000 ใบ ในอุจจาระ 1 กรัม
4. ชนิดอาการรุนแรง • เป็นระยะสุดท้ายของโรค เช่นติดเชื้อมาเป็นเวลานาน จำนวนพยาธิมาก มีอาการท้องขึ้น ท้องเฟ้อ เบื่ออาหาร ผอมลง แสดงอาการขาดอาหารและโปรตีน ตับโตแข็ง และอาจมีมะเร็งร่วมด้วย
การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) • 1. ตรวจหาไข่พยาธิในอุจจาระ • 2. ตรวจหาตัวแก่ของพยาธิ จากการผ่าตัด • ถุงน้ำดี ผ่าตัดตับ หรือดูดน้ำจากตับ • การรักษา (Treatment) • ปัจจุบันใช้ยา Praziquantel
การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) • 1. แนะนำประชาชนให้เลิกรับประทาน • ปลาดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ • 2. ให้ความรู้กับประชาชน • 3. จัดการสุขาภิบาลให้ถูกต้อง • 4. ทำลายโฮสต์กึ่งกลาง • 5. ให้ยารักษา
Family Fasciolidae • Fasciola hepatica • Fasciola gigantica • เป็นพยาธิใบไม้ในตับ แกะ วัว ควาย • ในคนมักพบเป็น Ectopic foci คือจะอยู่นอกตับ • ขนาดของ พยาธิตัวแก่ ไข่ และตัวอ่อน ใหญ่
รูปร่างของพยาธิทั้ง 2 ชนิดแตกต่างกันคือ • Fasciola hepaticaรูปร่างสั้นกว่า • Fasciola gigantica ยาว คล้ายใบไผ่ • (Bamboo leaf) • ทำให้เกิดโรค Fascioliasis หรือ Fasciolosis • เรียก เป็น The sheep liver fluke
การแพร่กระจาย (Distribution) - Fasciola hepaticaพบทั่วไปในอเมริกา แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย ยุโรป - Fasciola gigantica พบได้ทั่วไป และ สามารถพบในประเทศไทย
รูปร่าง (Morphology) - ขนาดประมาณ 20-30 mm กว้าง 13 mm - ผิวนอกมีหนาม (spiny tegument) - บริเวณหัวมีส่วนยื่นออกไปเรียก Cephalic cone - Oral sucker มีขนาด 1 mm Ventral sucker ขนาด 1.6 mm อยู่ชิดกัน
Pharynx แข็งแรง หลอดอาหารสั้น • Testes มี 2 อัน เป็นแขนง • - Ovary เป็นแขนงอยู่ทางด้านหน้า • Anterior testes • - ไข่ใบใหญ่ รูป ovoidal มี operculum • เล็กๆ สีน้ำตาลอมเหลือง • ขนาด 130 – 150 X 60 –80 um
วงชีวิต (Life cycle) - 1st I.H. ได้แก่ หอย Lymnaea sp. (Radix sp.) - 2nd I.H. ได้แก่ พืชผัก
Family Dicrocoelidae • Dicrocoelium dendriticum • - พบแถว ยุโรป แอฟริกา อินเดีย อเมริกา • 1st I.H. คือ Land snail • 2nd I.H. คือ Ant • - D.H. ได้แก่ แพะ, แกะ
Eurytrema pancreaticum • พบแถว จีน ไทย มาเลเซีย ญี่ปุ่น • 1st I.H. คือ Land snail • 2nd I.H. คือ Grasshopper , ant • D.H. ได้แก่ โค, กระบือ