200 likes | 489 Views
Animal Hospital Standards and Accreditation. SIRIPORN KONGSOI. Hospital Accreditation (HA). แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ ( Total Quality Management/Continuous Quality Improvement (TQM/CQI) HA is an education process, not an inspection
E N D
Animal Hospital Standards and Accreditation SIRIPORN KONGSOI
Hospital Accreditation(HA) • แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ (Total Quality Management/Continuous Quality Improvement (TQM/CQI) • HAis an education process, not an inspection • การตรวจสอบตามมาตรฐาน ---> เป็นเครื่องมือเพื่อส่งเสริมการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบสำคัญของกระบวนการ HA • การมีมาตรฐานโรงพยาบาลที่ใช้เป็นกติการ่วมกัน เป็นมาตรฐานเชิงระบบที่ส่งเสริมการพัฒนา • การที่โรงพยาบาลใช้มาตรฐานเพื่อการประเมินและพัฒนาตนเอง อย่างสอดคล้องกับบริบทของตน และมีหลักคิดหรือค่านิยมที่เหมาะสม • การประเมินจากภายนอกในลักษณะของกัลยาณมิตร • การยกย่องชื่นชมด้วยการมอบประกาศนียบัตรรับรองหรือ การมอบกิตติกรรมประกาศในความสำเร็จ
การพัฒนา HA ในประเทศไทย • Joint Commission for Healthcare Organization Accreditation (JCAHO) • สหรัฐอเมริกาแคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ 70 ประเทศทั่วโลก • พ.ศ. 2540 เริ่มนำระบบเข้ามาทดลองใช้ในประเทศไทย HA is an educational process, not an inspection ประเทศไทยจึงรับแนวคิดที่มุ่งเน้นการพัฒนา > การตรวจสอบตั้งแต่ต้น
การพัฒนา HA ในประเทศไทย • ในช่วงเริ่มต้น เป็นการเรียนรู้ร่วมกัน ทดลองปฏิบัติ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ • ช่วงที่สอง เน้นการตีความหมายของมาตรฐานเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ มาตรฐาน HA ฉบับแรก คือ ฉบับปีกาญจนาภิเษก ได้กระตุ้นให้เกิดรูปธรรมของการจัดระบบงาน ถือเป็นเรื่องใหม่สำหรับประเทศไทย • ช่วงที่สาม การจัดระบบบันได 3 ขั้น สู่ HA เพื่อง่ายต่อการปฏิบัติตามสภาพความพร้อมของโรงพยาบาล
บันได 3 ขั้น สู่ HA • บันไดขั้นที่ 1 คือ การเรียนรู้จากปัญหาและเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ • บันไดขั้นที่ 2 คือ การพัฒนาในส่วนต่างๆ ของโรงพยาบาลอย่างเป็นระบบ ได้แก่ หน่วยบริการ ระบบงาน กลุ่มผู้ป่วย และองค์กร ตามวงล้อการพัฒนาและการเรียนรู้ Plan-Do-Study-Actหรือ Design-Action-Learning-Improvement • บันไดขั้นที่ 3 คือ การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมความปลอดภัย และวัฒนธรรมการเรียนรู้ มีการนำมาตรฐานมาปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด
ทำไมโรงพยาบาลสัตว์หรือคลินิกรักษาสัตว์ถึงควรจะทำ HA สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การดูแลสัตว์เลี้ยงเสมือนสมาชิกในครอบครัว ความคาดหวังจากเจ้าของสัตว์ที่จะได้รับบริการที่มีคุณภาพสูง ขนาดของโรงพยาบาลสัตว์ใหญ่ขึ้นและซับซ้อนขึ้น จำนวนโรงพยาบาลและคลินิกที่มีมากขึ้นและมีการแข่งขันสูง การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและข้อมูลข่าวสารของการรักษาสัตว์ ภาพลักษณ์และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
เมื่อทำ HA แล้วได้ประโยชน์อะไร • ความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยจากการทำงานลดลง • การเข้าใจผิดระหว่างผู้รับบริการกับเจ้าหน้าที่ลดลง • สิ่งแวดล้อมในการทำงานและการประสานงานดีขึ้น • เจ้าหน้าที่ได้เรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเอง • ความเสี่ยงต่อการประสบความสูญเสียหรือ ภาวะแทรกซ้อนลดลง • คุณภาพการดูแลรักษาดีขึ้น • การพิทักษ์สิทธิสัตว์ป่วยมีมากขึ้น • ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน สัตว์ป่วย บุคลากรของโรงพยาบาล โรงพยาบาล • ได้รับการเชื่อถือและยอมรับจากลูกค้า และสังคม • องค์กรสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงผ่านการเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • องค์กรอยู่รอดและมีความยั่งยืน ที่มา: ดัดแปลงจากเอกสาร “การพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสัตว์เพื่อการเรียนการสอน “
HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในสหรัฐอเมริกา American Animal Hospital Association (AAHA): องค์กรที่ตรวจรับรอง ต่อใบรับรองทุก 3 ปี AAHA standards of accreditation
HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในสหรัฐอเมริกา • EXAMINATION FACILITIES • HOUSEKEEPING AND MAINTENANCE • HUMAN RESOURCE • LABORATORY • LEADERSHIP • MEDICAL RECORDS • PAIN MANAGEMENT • PATIENT CARE • PHARMACY • SAFETY • SURGERY ANESTHESIA CLIENT SERVICES CONTAGIOUS DISEASE CONTINUING EDUCATION DENTISTRY DIAGNOSTIC IMAGING EMERGENCY AND URGENT CARE
HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในออสเตรเลีย • Australian Small Animal Veterinary Association (ASAVA): องค์กรที่ตรวจรับรอง • ต่อใบรับรองทุก 4 ปี • Manual of Hospital Standards: Updated Version 2009
HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในออสเตรเลีย MEDICAL RECORDS EXAMINATION FACILITIES PHARMACEUTICAL SERVICES LABORATORY/PATHOLOGY DIAGNOSTIC IMAGING ANAESTHESIA SURGERY DENTISTRY NURSING CARE AND WARDS LIBRARY EMERGENCY SERVICES CHEMOTHERAPEUTICS AND CYTOTOXICS
HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในอังกฤษ Royal College of Veterinary Surgeons : องค์กรที่ตรวจรับรอง ต่อใบรับรองทุก 4 ปี RCVS Practice Standards Scheme Manual
HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในอังกฤษ • STAFF • CLINICAL GOVERNANCE • AVAILABILITY AND PATIENT CARE • PREMISES AND OUT-PATIENT FACILITIES • IN-PATIENT FACILITIES • DIAGNOSTIC EQUIPMENT AND FACILTIES • LABORATORY AND POST-MORTEM FACILTIES • SAFETY PROCEDURES • EMERGENCY SERVICE CLINIC
HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในต่างประเทศ • มาตรฐานโรงพยาบาลสัตว์ ของสหรัฐอเมริกา/ออสเตรเลีย/ อังกฤษ • ประกอบไปด้วยมาตรฐานที่สามารถใช้ในการประเมินตนเอง เพื่อให้พร้อมต่อการตรวจสอบจากหน่วยงานที่รับรอง • หน่วยงานรับรอง เน้นการตรวจสอบตามเกณฑ์มาตรฐานเป็นหลัก คล้ายกับ HA ในยุคแรกๆ • ไม่มีในเรื่องภาพรวมของการบริหารองค์กรหรือแนวคิดในการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง
บันได 3 ขั้น สู่ HA • บันไดขั้นที่ 1 คือ การเรียนรู้จากปัญหาและเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ • บันไดขั้นที่ 2 คือ การพัฒนาในส่วนต่างๆ ของโรงพยาบาลอย่างเป็นระบบ ได้แก่ หน่วยบริการ ระบบงาน กลุ่มผู้ป่วย และองค์กร ตามวงล้อการพัฒนาและการเรียนรู้ Plan-Do-Study-Actหรือ Design-Action-Learning-Improvement • บันไดขั้นที่ 3 คือ การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมความปลอดภัย และวัฒนธรรมการเรียนรู้ มีการนำมาตรฐานมาปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด
การพัฒนา HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในประเทศไทย • ในช่วงเริ่มต้น เป็นการเรียนรู้ร่วมกัน ทดลองปฏิบัติ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ • โดยเน้นการตีความหมายของมาตรฐานเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ โดยใช้มาตรฐาน HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ของประเทศ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลียและอังกฤษเป็นแนวทาง เพื่อให้เกิดรูปธรรมของการจัดระบบงาน • พร้อมกับการจัดระบบบันได 3 ขั้น สู่ HA ตามความพร้อมและบริบทของโรงพยาบาลสัตว์แต่ละแห่ง