1 / 6

โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)

โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera). เป็นโรคโลหิตเป็นพิษที่ร้ายแรงของไก่ และสัตว์ปีกอื่นๆ เช่น เป็ด ไก่งวง ห่าน ไก่ฟ้า และนกพิราบ สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Pasteurella multocida การติดต่อ 1. การเป็นโรคเริ่มแรกเกิดจากไก่อ่อนแอ เครียดตัวที่อ่อนแอในฝูงเริ่มป่วย

norris
Download Presentation

โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera) • เป็นโรคโลหิตเป็นพิษที่ร้ายแรงของไก่ และสัตว์ปีกอื่นๆ เช่น เป็ด ไก่งวง ห่าน ไก่ฟ้า และนกพิราบ สาเหตุ • เกิดจากเชื้อ Pasteurella multocida การติดต่อ • 1. การเป็นโรคเริ่มแรกเกิดจากไก่อ่อนแอ เครียดตัวที่อ่อนแอในฝูงเริ่มป่วย • 2. ไก่ป่วยแพร่โรค โดยเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย& อุจจาระอาหาร สิ่งแวดล้อม • 3. จากแมลง สัตว์พาหะ มนุษย์ และเครื่องใช้ Fowl cholera

  2. อาการ ความไวของสัตว์ มาก น้อย • เป็ด > ไก่งวง > ไก่ (ไก่ใหญ่ > ไก่เล็ก) • โดยทั่วไปจะพบโรคนี้ในไก่ที่มีอายุ > 4 เดือน ภาพแสดงความไวของการเป็นโรค Fowl cholera

  3. อาการที่พบแบ่งออกเป็นอาการที่พบแบ่งออกเป็น • 1.ชนิดรุนแรงมาก จะไม่ทันสังเกตอาการผิดปกติ แต่พบไก่ตายที่กรงหรือพื้นคอก • 2. ชนิดรุนแรง • ไก่ซึม อุจจาระร่วงมีสีเขียวปนเหลือง • หงอนและเหนียงสีม่วง • อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น • หายใจลำบาก • ไก่จะตายในเวลา 2-3 วัน Fowl cholera

  4. 3. ชนิดเรื้อรัง * มักมีวิการเฉพาะแห่ง • หน้าและเหนียงบวม • ข้อต่อขยายใหญ่ • หายใจมีเสียงดัง, น้ำมูกไหล • คอบิด • ไม่พบวิการที่เด่นชัด Fowl cholera

  5. การวินิจฉัย • 1.วิการ: เฉียบพลัน การอักเสบทั่วไป จุดเลือดออกตามอวัยวะต่างๆ • 2.ย้อมดูเชื้อจาก : เลือด, ตับ, ม้าม แต่บางครั้งในรายที่เป็นแบบเรื้อรังต้องเพาะเชื้อจากโพรงกระโหลกและร่องเพดานปาก Fowl cholera

  6. การรักษา • ให้ยาปฏิชีวนะละลายน้ำ/ผสมอาหาร/ฉีด การป้องกันโรค • ทำวัคซีน (แต่ประสิทธิภาพของวัคซีนยังไม่ค่อยดี) • 1. วัคซีนเชื้อตายของกรมปศุสัตว์ ผลิตเพื่อป้องกันโรคอหิวาต์ในเป็ด แต่สามารถใช้ได้ในไก่ที่อายุ 6-8 สัปดาห์ และควร booster ซ้ำที่ 16-18 สัปดาห์ และฉีดทุก 3 m. • 2.วัคซีนเชื้อเป็น ของ USA.ยังไม่นิยมใช้ Fowl cholera

More Related