1 / 22

SA II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย

SA II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย. เป้าหมาย/ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ “ปลอดภัย ประสิทธิภาพ เรียนรู้ เยียวยา”. คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย. บริบท.

Download Presentation

SA II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. SA II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย เป้าหมาย/ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ “ปลอดภัย ประสิทธิภาพ เรียนรู้ เยียวยา” คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย

  2. บริบท • คณะกรรมการ ENV ประกอบด้วย สหสาขาวิชาชีพ โครงสร้างเดิมโรงพยาบาลชุมชนขนาด 90 เตียง เมื่อถูกยกฐานะโรงพยาบาลทั่วไป ระดับ Standard (S) ทำให้โครงสร้างโรงพยาบาล ได้ปรับเปลี่ยนตามบริบท

  3. สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วยสิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ วัสดุและของเสียอันตราย ความปลอดภัยจากอัคคีภัย การจัดการกับภาวะฉุกเฉิน เครื่องมือ ระบบสาธารณูปโภค สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม

  4. ความปลอดภัยและสวัสดิภาพความปลอดภัยและสวัสดิภาพ • เน้นให้เป็นไปตามกฎหมายที่กำหนด และเอื้อต่อความปลอดภัย/ประสิทธิภาพ • การดำเนินงาน คณะกรรมการ ENV Round พบเรื่องที่เสนอปรับปรุง 33 เรื่อง ได้ดำเนินการไปแล้ว 26 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 78.79 % เช่น การต่อเติมพื้นที่ภายในอาคารกุมารเวชกรรม, ขยายห้อง NICU เพิ่มขึ้น จัดทำตาข่ายกั้นป้องกันการตกตึกที่ตึกอายุรกรรมชาย จัดทำห้องน้ำคนพิการ • ระบบบริหารอาคารสถานที่และการรักษาความปลอดภัย • งานบริหารอาคารสถานที่และการรักษาความปลอดภัย • งานภาคสนาม • งานรักษาความปลอดภัยโรงพยาบาลเหมาบริการขององค์การทหารผ่านศึก • การจัดระเบียบอาคารสถานที่ โดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน 5 ส ประเมินโดยคณะกรรมการทุก 6 เดือน

  5. ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ (ต่อ) • การตรวจสอบความเสี่ยง/การปฏิบัติที่ไม่ปลอดภัย • ทีมช่างซ่อมบำรุง รับผิดชอบอาคารสถานที่ จัดแผนตรวจสอบรายเดือน และมีการตรวจสอบจากภายนอกโดยผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์วิศวกรรมความปลอดภัยเขต ขอนแก่น ปีละ 1 ครั้ง • ในรอบ 1-2 ปี ความเสี่ยงที่พบ คือ น้ำท่วมบ้านพักเจ้าหน้าที่ รอยรั่วหลังคาทางเดิน • ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญและการป้องกัน • โดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ค้นหาความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมเชิงรุก (ENV Round)

  6. ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ (ต่อ) • การให้ความรู้และฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อมในรอบปีที่ผ่านมา • การสร้างจิตสำนึกด้านอนุรักษ์พลังงาน • อบรมป้องกันอัคคีภัยและการใช้อุปกรณ์ดับเพลิง • อบรมคณะกรรมการดำเนินกิจกรรม 5 ส • ซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ /กลุ่มชน • ประชุมการควบคุมป้องกันการติดเชื้อ ใน รพ.

  7. วัสดุและของเสียอันตรายวัสดุและของเสียอันตราย • คณะกรรมการ ENV ได้ดำเนินการร่วมกับคณะกรรมการ IC โดยคณะกรรมการ ENV ดำเนินการคือ • การปรับปรุงสถานที่พักขยะ โดยแยกเป็นสัดส่วน

  8. การจัดการกับภาวะฉุกเฉินการจัดการกับภาวะฉุกเฉิน • ภาวะฉุกเฉินหรือภัยพิบัติที่มีโอกาสประสบ • ผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมและบุคคล ได้แก่ น้ำท่วม พายุ ฟ้าผ่า โรคระบาด • ภาวะฉุกเฉินหรือภัยพิบัติที่ทำให้การบริการหยุดชะงัก ได้แก่ ระบบโทรศัพท์ • การเกิดโรคระบาด เช่น การระบาดโรคตับอักเสบเอ • ความปลอดภัยจากอัคคีภัย • การจัดทำแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยทั้งระดับโรงพยาบาล และระดับหน่วยงาน • คณะกรรมการ ENV สำรวจจุดเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอัคคีภัย ปรับปรุงจุดเสี่ยง • อุปกรณ์เกี่ยวกับระบบดับเพลง ได้แก่ เครื่องดับเพลง

  9. เครื่องมือแพทย์ • การประเมินเครื่องมือ ให้เพียงพอ และพร้อมใช้ โดยคณะกรรมการเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ ได้ทบทวนการบริหารเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ รวมเป็นศูนย์เครื่องมือ และมีแผนการจัดหาเพิ่มเติม ดังนี้ • เครื่อง Infusion pump • เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า • เครื่องช่วยหายใจชนิดควบคุมปริมาตร • มีการสอบเทียบเครื่องมือ • เครื่องมือเสี่ยงสูง • เครื่องมือเสี่ยงปานกลาง • เครื่องมือเสี่ยงต่ำ

  10. ระบบสาธารณูปโภค • ระบบไฟฟ้า มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน ระบบสตาร์ทอัตโนมัติเมื่อไฟฟ้าดับ ภายใน 7 วินาที สามารถผลิตไฟฟ้าต่อเนื่องได้นาน 48 ชั่วโมง • ระบบประปา มีระบบประปาภูมิภาคสำรอง มีถังน้ำสำรองปริมาณ 300 ลบ.เมตร ใช้ในอาคารผู้ป่วยได้นาน 2 วัน • น้ำบริโภค มีการตรวจสอบคุณภาพ 4 ครั้ง/ปี • น้ำอุปโภค มีการตรวจสอบคุณภาพ 3 ครั้ง/ปี โดยส่งตรวจที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุดรธานี

  11. ระบบสาธารณูปโภค (ต่อ) • ระบบปรับอากาศ และระบายอากาศ มีเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน จำนวน 320 ตัว มีการบำรุงรักษาโดยทำสัญญากับผู้รับเหมาบริการภายนอกโรงพยาบาล และมีการตรวจวัดระบบระบายอากาศ การปนเปื้อนในอากาศจากภายนอก 1 ครั้ง/ปี จากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ ขอนแก่น • ระบบสื่อสาร โทรศัพท์ภายใน 200 คู่สาย โทรศัพท์ภายนอก 22 เลขหมาย โทรศัพท์เคลื่อนที่ 25 เลขหมาย วิทยุสื่อสาร 15 เครื่อง บำรุงรักษาโดยทีมซ่อมบำรุง

  12. ระบบสาธารณูปโภค (ต่อ) • ระบบแก๊สทางการแพทย์ (Medical Gas) มี LIQUID OXYGEN บรรจุแก๊สได้ 5,000 ลิตร เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน สำรองถังออกซิเจนได้ 24 ถัง และได้ทำสัญญากับบริษัท TIG นำส่งแก๊สเมื่อแก๊สระดับ 70 นิ้วน้ำ มีการตรวจสอบโดยทีมซ่อมบำรุง • ระบบไฟฟ้าสำรอง โรงพยาบาล มีเครื่องสำรองไฟ (Emergency Light) 18 จุด 84 เครื่อง ติดตั้งจุดบริการที่เป็นจุดเสี่ยง ได้แก่ ห้องผ่าตัด ห้องคลอด ห้องฉุกเฉินฯ ICU และบันไดหนีไฟ

  13. สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ • โรงพยาบาลได้กำหนดนโยบายสาธารณสุข เช่น • โรงพยาบาลปลอดบุหรี่และแอลกอฮอล์ • โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว • การลดโรคร้อนโดยการคัดแยกขยะ • นโยบาย 5 ส • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

  14. การพิทักษ์สิ่งแวดล้อมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม • ระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นระบบคลองวนเวียนโดยใช้ใบพัดเติมอากาศ มีขนาดความจุ 400 ลบ.เมตร ความสามารถในการบำบัดของระบบ 200 ลบ.เมตร/วัน ผู้รับผิดชอบผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และมีการส่งตัวอย่างน้ำทิ้งที่ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข • ระบบจัดการปริมาณของเสีย ประเภทขยะ 4 ประเภท คือ ขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ ขยะอันตราย และขยะรีไซเคิล

  15. ผลการพัฒนาที่สำคัญ • การปรับปรุงและต่อเติมอาคารเพื่อให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงานและการให้บริการ • ปรับปรุงเส้นทางจราจรในโรงพยาบาล • การจัดการภาวะฉุกเฉินและการป้องกันฟ้าผ่า น้ำท่วม • ก่อสร้าง ต่อเติมเพื่อป้องกันความเสี่ยง เช่น ทางลาด ราวกั้น • ก่อสร้างห้องน้ำคนพิการ • ก่อสร้างตามมาตรฐาน IC เช่น อ่างล้างมือ ติดตั้งพัดลมดูดอากาศ

  16. ผลการพัฒนาที่สำคัญ (ต่อ) • รณรงค์ 5 ส. /การประเมิน 5 ส. • ปรับปรุงงานรักษาความปลอดภัย • ปรับปรุงระบบการกำจัดขยะ • เตรียมและจัดการกับสาธารณภัย • ปรับปรุงระบบการขนย้ายศพ • การช่วยเหลือเมื่อลิฟท์ค้าง

  17. แผนการพัฒนา 1-2 ปีข้างหน้า • การป้องกันน้ำท่วมขังในโรงพยาบาล • ENV Round อย่างต่อเนื่อง • นิเทศกำกับ การจัดการเก็บวัสดุและของเสียอันตราย • งานปรับปรุงโรงพักมูลฝอยติดเชื้อ • จัดซ้อมแผนอัคคีภัยในโรงพยาบาล จำลองสถานการณ์จริง เพื่อหาโอกาสพัฒนา • ทำการบำรุงรักษาเชิงป้องกันอย่างต่อเนื่องและทบทวนจำนวนที่ต้องทำการบำรุงรักษาเพิ่มขึ้น

  18. แผนการพัฒนา 1-2 ปีข้างหน้า (ต่อ) • ปรับปรุงระบบน้ำประปา • ปรับปรุงระบบไฟฟ้าแรงสูงและแรงต่ำ เพื่อรองรับอาคารใหม่ • ขยายท่อเมนของระบบ Liquid Tank ให้มีอัตราการไหลที่เพียงพอ • มีมุมการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมในจุดการให้บริการ • ปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสีย รองรับการขยายโรงพยาบาล • โครงการ Car Free Day แก่เจ้าหน้าที่

  19. ข้อมูล/ตัวชี้วัด • ด้านความปลอดภัย

  20. ข้อมูล/ตัวชี้วัด (ต่อ) • ด้านประสิทธิภาพ

  21. ข้อมูล/ตัวชี้วัด (ต่อ) • ด้านการเรียนรู้

  22. ข้อมูล/ตัวชี้วัด (ต่อ) • ด้านการเยียวยา

More Related