730 likes | 2.83k Views
แบบทดสอบ. 1 . ข้อมูลใดที่ทราบจากการทดลอง โดยใช้หลอดรังสีแคโทด ก. นิวเคลียสของธาตุมีโปรตรอน ข. สสารทุกรูปแบบประกอบด้วยอิเล็กตรอน ค. รังสีบวกเป็นโปรตรอน ง. อนุภาคแอลฟาหนักกว่าโปรตรอน. ข้อ ข. สสารทุกรูปแบบประกอบด้วยอิเล็กตรอน ถูกต้องที่สุด.
E N D
1.ข้อมูลใดที่ทราบจากการทดลอง โดยใช้หลอดรังสีแคโทดก. นิวเคลียสของธาตุมีโปรตรอน ข. สสารทุกรูปแบบประกอบด้วยอิเล็กตรอนค. รังสีบวกเป็นโปรตรอน ง. อนุภาคแอลฟาหนักกว่าโปรตรอน
ข้อ ข. สสารทุกรูปแบบประกอบด้วยอิเล็กตรอน ถูกต้องที่สุด
2. การทดลองใดที่พิสูจน์ว่า อะตอม ประกอบด้วยอิเล็กตรอนก. ใช้หลอดรังสีแคโทด ข. ยิงอนุภาคแอลฟาผ่านแผ่นทองคำ ค. ใช้อุปกรณ์ตรวจการนำไฟฟ้า ง. ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์เลกทรอนิกส์
ข้อ ก. ใช้หลอดรังสีแคโทดถูกต้องที่สุด
3. เมื่อเราตั้งสมมุติฐานว่า อะตอม ประกอบด้วย นิวเคลียส ซึ่งมีขนาดเล็ก และมีประจุบวกนั้น เพราะก. โดยทั่วไปโลหะจะเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดีข. ในแมสสเปกโทรมิเตอร์จะมีไอออนบวกเกิดขึ้นค. ในการทำอิเล็กโทรลิซิลของเกลือ ทั้งโลหะและไฮโดรเจน จะไปรับอิเล็กตรอนที่แคโทดง. อนุภาคแอลฟาบางส่วนเมื่อชนกับแผ่นโลหะบางๆ จะเบนไปจากแนวเส้นตรงหรือสะท้อนกลับ
ข้อ ง. อนุภาคแอลฟาบางส่วนเมื่อชนกับแผ่นโลหะบางๆ จะเบนไปจากแนวเส้นตรงหรือสะท้อนกลับถูกต้องที่สุด
4. ถ้าโปรตอนและอิเล็กตรอนมีมวลเท่ากับ 1.7 x 10-27 และ 9.1 x 10-31 kg ตามลำดับ อัตราส่วน ของ อิเล็กตรอนจะมีค่าเป็นกี่เท่าของอนุภาคแอลฟา( ) ก. ประมาณ 1,800 เท่า ข. ประมาณ 3,700 เท่า ค. ประมาณ 900 เท่า ง. ประมาณ 4 เท่า
ข้อ ข. ประมาณ 3,700 เท่าถูกต้องที่สุด
5. ในการทดลองของทอมสันเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของแก๊ส พบว่า ของอนุภาคที่ปล่อยออกมาจากแคโทดมีค่าเท่ากับ 1.70 x 108 คูลอมบ์ต่อกรัม และจากการทดลองหาค่าประจุของอนุภาคนี้มิลลิแกน พบว่ามีค่าเท่ากับ 1.60 x 10-19 คูลอมบ์ อนุภาคนี้ จำนวน 1030 อนุภาคมีมวลเท่าไร ก. 1.70 x 1038ข. 1,060 กรัม ค. 1.06 x 1057ง. 941 กรัม
ข้อ ง. 941 กรัมถูกต้องที่สุด วิธีคิด ค่า = 1.7 x 108 กำหนดให้ e = 1.6 x 10-19m = 1.6 x 10-191.7 x 108m = 9.41 x 10-28 กรัม 1 อนุภาคมีมวล = 9.41 x 10-28 กรัม1030อนุภาคมีมวล= 1030 x 9.41 x 10-28 กรัม
6. การทดลอง มิลลิแกน เป็นการทดลองเพื่อหา ก. ประจุบนหยดน้ำมัน ข. ประจุของอิเล็กตรอน ค. มวลของอิเล็กตรอน ง. อัตราส่วนประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน
ข้อ ข. ประจุของอิเล็กตรอน ถูกต้องที่สุด
7.สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน เท่ากับ 91 จำนวนนิวตรอน เท่ากับ 140 คือข้อใด ก. ข. ค. ง.
และ สองอะตอมนี้ มีอะไรเหมือนกันก. จำนวนโปรตอนข. จำนวนนิวตรอนค. จำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนนิวตรอนง. จำนวนโปรตอนกับจำนวนนิวตรอน
ข้อ ค. จำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนนิวตรอนถูกต้องที่สุด
9. จงเลือกข้อความที่ ถูกต้องที่สุดก. นิวเคลียสของ 17Cl-มีประจุลบข. 11Na+มีจำนวนในอิเล็กตรอนมากกว่า 8O2-สามอิเล็กตรอนค. มีจำนวนในอิเล็กตรอนมากกว่า หนึ่งอิเล็กตรอนง. กับ มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน
ข้อ ค. มีจำนวนในอิเล็กตรอนมากกว่า หนึ่งอิเล็กตรอนถูก
10. อนุภาคใดมีจำนวนอิเล็กตรอนทั้งหมดเท่ากับจำนวน อิเล็กตรอนของคลอรีนอะตอม (เลขอะตอม H= 1,0 = 8, F = 9, Ne = 10, S = 16, Cl = 17)ก. OF2ข. Ne- ค. OH-ง. S-
11. ข้อใดมีจำนวนอิเล็กตรอนมากกว่านิวตรอน ก. A2+ข. D ค. X3-ง. Y2-
12. ธาตุ x มีเลขมวลเท่ากับ 39 มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 อยู่ในระดับพลังงานสูงสุด คือ 4 x+ ไอออนจะมี นิวตรอนเท่าใด ก. 19 ข. 20 ค. 39 ง. 40
13. ไอโซโทปหนึ่งของออกซิเจน คือ ออกซิเจน -18 ไอโซโทปนี้อยู่ในรูปของออกไซด์ไอออน จะมีจำนวน อิเล็กตรอนและนิวตรอนเท่าใด ตามลำดับ ก. 8,8 ข. 8,10 ค. 10,10 ง. 10,18
ข้อ ค. 10,10ถูกต้องที่สุด ออกซิเจนมรมวล 18 มีเลขอะตอม 8 อยู่ในรูปออกไซด์ (o2-) ฉะนั้นสัญลักษณ์นิวเคลียร์ คือo2- จำนวน P+ = 8, e- = 10, n = 10
14. ถ้าไอโซโทปหนึ่งมีประจุในนิวเคลียสเป็น 2 เท่าของ ประจุในนิวเคลียสของปรุนิวเคลียสของ และมีเลข มวลเป็น 1.5 เท่าของ ไอโซโทปนี้จะมีอนุภาค มูลฐานอย่างละกี่อนุภาค ก. 6e, 12p, และ 6n ข. 2e, และ 2p ค. 12e, 12p และ 18n ง. 12e, 12p และ 18n
ข้อ ค. 12e, 12p และ 18nถูกต้องที่สุด
15. อะตอมของธาตุใด ที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากที่สุด จาก ธาตุที่มีเลขอะตอมต่อไปนี้ ก. 4 ข. 7 ค. 11 ง. 12
16. อิเล็กตรอนมีจำนวนมากที่สุดได้เท่าใด ในระดับ พลังงานที่4 ก. 8 ข. 18 ค. 28 ง. 32
17. สารประกอบไอออนิกมีสูตร X2Y ถ้า Xเป็นธาตุที่มี เลขอะตอมเท่ากับ 19 Y ควรเป็นธาตุที่มีเลขอะตอม เท่าใด ก. 14 ข. 16 ค. 17 ง. 18
18. ธาตุ X อยู่หมู่ที่ 3 คาบที่ 4 จะมีการจัดอิเล็กตรอน อย่างไร และมีเลขอะตอมเท่าใด ก. 2,8,4 เลขอะตอม เท่ากับ 14 ข. 2,8,8,3 เลขอะตอม เท่ากับ 21 ค. 2,8,18,3 เลขอะตอม เท่ากับ 31 ง. 2,8,18,4 เลขอะตอม เท่ากับ 32
ข้อ ค. 2,8,18,3 เลขอะตอม เท่ากับ 31 ถูกต้องที่สุด
19. X คือ ธาตุในหมู่ที่ 3 คาบที่ 4 การจัดอิเล็กตรอนของ X+ คือข้อใด ก. 2,8,8,2 ข. 2,8,18,2 ค. 2,8,3 ง. 2,8,18,3
ข้อ ข. 2,8,18,2ถูกต้องที่สุด วิธีคิด X อยู่หมู่ 3 คาบ 4 จะจัดเรียงอิเล็กตรอนดังนี้ X 2 8 18 3 แต่โจทย์ถาม X+ ไอออน แสดงว่าต้องจ่าย e-ออกไป 1 ตัว จึงจัดเรียงอิเล็กตรอน เป็นดังนี้ X+2 8 18 2
20. ธาตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 2 มีเลขอะตอม 38 มีการ เรียงอิเล็กตรอนของธาตุอย่างไร ก. 2,8,8,18,2 ข. 2,8,18,8,2 ค. 2,18,8,8,2 ง. 2,2,18,8,8
ข้อ ข. 2,8,18,8,2ถูกต้องที่สุด
21. ธาตุ A อะตอมมิกนัมเบอร์ 37 ทำปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ สารละลายที่ได้มีฤทธิ์เป็นเบส ธาตุ A ควรอยู่หมู่ใดและ คาบใด ก. หมู่ที่ 1 คาบที่ 4 ข. หมู่ที่ 1 คาบที่ 5 ค. หมู่ที่ 2 คาบที่ 4 ง. หมู่ที่ 2 คาบที่ 5
ข้อ ข. หมู่ที่ 1 คาบที่ 5ถูกต้องที่สุด
22. Be มีอะตอมมิกนัมเบอร์ 4 ธาตุซึ่งอยู่ในหมู่เดียวกัน ได้แก่ธาตุที่มีอะตอมมิกนัมเบอร์เท่าใด ก. 3 ข. 7 ค. 12 ง. 16
23. สมมุติว่า นักวิทยาศาสตร์สามารถสังเคราะห์ธาตุที่มี อะตอมมิกนัมเบอร์ 114 ได้ ท่านคิดว่าควรจะจัดให้ ธาตุนี้อยู่ในหมู่ใด ก. หมู่ที่ 3 ข. หมู่ที่ 4 ค. หมู่ที่ 5 ง. หมู่ที่ 6
ข้อ ข. หมู่ที่ 4ถูกต้องที่สุด
24. ธาตุ K, L และ M มีเลขอะตอม 10, 14 และ 20 ตามลำดับ ธาตุทั้งสามควรอยู่ในหมู่ใดและคาบใด ตามลำดับ ก. หมู่ 2,4,8 และคาบ 2,3,4 ข. หมู่ 4,8,2 และคาบ 3,2,4 ค. หมู่ 4,2,8 และคาบ 4,3,2 ง. หมู่ 8,4,2 และคาบ 2,3,4
ข้อ ง. หมู่ 8,4,2 และคาบ 2,3,4ถูกต้องที่สุด
25. แสงสีส้มมีความยาวคลื่น 620 นาโนเมตร เมื่อเปรียบเทียบ กับแสงสีคราม ซึ่งมีความยาวคลื่น 430 นาโนเมตร ข้อความใด ถูกต้องที่สุด ก. แสงสีส้มมีพลังงานสูงกว่าแสงสีคราม เนื่องจากมีความถี่สูงกว่า ข. แสงสีครามมีพลังงานสูงกว่าแสงสีส้ม เนื่องจากมีความถี่ต่ำกว่า ค. แสงสีครามมีพลังงานสูงกว่าแสงสีส้ม เนื่องจากมีความถี่สูงกว่า ง. แสงสีส้มมีพลังงานสูงกว่าแสงสีคราม เนื่องจากมีความถี่ต่ำกว่า