731 likes | 1.95k Views
แนวทาง และมาตรการในการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก. นาง มนัสนันท์ ลิมปวิ ทยากุล รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี. จุดมุ่งหมาย. วัตถุประสงค์ เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าปี 2554 เพื่อให้อัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 0.1 2
E N D
แนวทางและมาตรการในการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก นางมนัสนันท์ลิมปวิทยากุล รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี
จุดมุ่งหมาย • วัตถุประสงค์ • เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าปี 2554 • เพื่อให้อัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 0.12 • เป้าหมาย • เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของค่ามัธยฐาน ของประเทศ 5 ปี ย้อนหลัง • เพื่อให้อัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 0.12 • ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน รพ. ไม่เกินค่ามาตรฐาน (HI ≤ 10, CI = 0) • ควบคุมการระบาดอย่างมีประสิทธิภาพ
การเตรียมความพร้อมรับมือปัญหาไข้เลือดออกการเตรียมความพร้อมรับมือปัญหาไข้เลือดออก ก่อนระบาด ช่วงระบาด มาตรการรับมือ รักษา ควบคุม หลังระบาด • มาตรการป้องกัน • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • มาตรการป้องกัน • มาตรการเฝ้าระวัง • ถอดบทเรียน
ก่อนระบาด • มาตรการป้องกัน เพื่อตัดวงจรการแพร่เชื้อไวรัสในหน้าแล้ง • กลยุทธ์หลัก : เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง => ลูกน้ำยุงลาย • ระยะที่ 1 (Phase 1) ที่สำคัญที่สุดในการควบคุมไข้เลือดออก ตั้งแต่ปลายปีถึงต้นปี (เดือน ตุลาคม - มีนาคม ) รวม 6 เดือน คือ การลดโรคไข้เลือดออกให้น้อยที่สุด หากเกิดการระบาดแล้วการควบคุมจะทำได้ยากและสูญเสียงบประมาณเพิ่มมากขึ้น • ขั้นที่ 1. วิเคราะห์ต้นตอการระบาดสืบค้นแหล่งรังโรคและพื้นที่เสี่ยงต่อ การระบาดของโรคไข้เลือดออก เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในการจัดการ
ก่อนระบาด ขั้นที่ 2กำจัดศักยภาพของแหล่งแพร่โรค • กำจัดภาชนะเสี่ยงสำคัญ • จัดการแหล่งเพาะพันธุ์ • กวาดล้างลูกน้ำยุงลายให้ลดลงต่ำที่สุด HI ~ 0 , CI = 0 ขั้นที่ 3ระงับการแพร่เชื้อ • เฝ้าระวังไข้ ค้นหาผู้ป่วย ส่งตรวจวินิจฉัย และควบคุมพาหะ • ป้องกันยุงกัด
ก่อนระบาด • กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ • สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมทุกชุมชน โรงเรียน(ประชาชน นักเรียนทำ, อปท, โรงเรียน, จนท.สธ รณรงค์ สนับสนุน) • กิจกรรมทำลายลูกน้ำยุงลาย • เปลี่ยนถ่ายน้ำในภาชนะที่สามารถเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ทุกสัปดาห์ (ประชาชน นักเรียน, อปท, โรงเรียน, จนท.สธ รณรงค์ สนับสนุน) • ใช้ทรายอะเบท (อสม. ครูอาจารย์แจกจ่าย กำกับ อปท, จนท.สธ รณรงค์ สนับสนุน)
แหล่งเพาะพันธุ์ แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย แบ่งเป็น 6 ประเภท ได้แก่ แหล่งน้ำขังภายในบ้าน • ตุ่มน้ำขังภายในบ้าน • จานรองตู้กันมด • ภาชนะขังน้ำอื่น ๆ บ่อคอนกรีตในห้องน้ำ แจกันดอกไม้ จานรองกระถางต้นไม้ หน่วยวิจัยยุงลาย (Aedes Research unit หรือ ARU) ของ WHO
สำรวจภาชนะขังน้ำทุกชนิดและทุกชิ้นสำรวจภาชนะขังน้ำทุกชนิดและทุกชิ้น
แหล่งเพาะพันธุ์ แหล่งน้ำขังภายนอกบ้าน • ตุ่มน้ำขังภายนอกบ้าน • แหล่งขังน้ำอื่น ๆ อ่างคอนกรีตล้างเท้า กระป๋อง ไหแตก ถ้วยแตก แจกันศาลพระภูมิ ภาชนะใส่น้ำเลี้ยงสัตว์ รางน้ำฝน ยางรถยนต์ • ภาชนะธรรมชาติ โพรงไม้ กะลา กาบใบไม้ กระบอกไม้ไผ่
การสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์การสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์
ก่อนระบาด กลยุทธ์รอง 1: เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง => ยุงลายตัวเต็มวัย • กิจกรรมทำลายยุงลายเฉพาะสถานที่เสี่ยง =>ศูนย์เด็กเล็ก, โรงเรียน, โรงพยาบาล • พ่นสารเคมีกำจัดยุงลายก่อนเปิดเทอม กลยุทธ์รอง 2: เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง => การถูกยุงลายกัด • การใช้น้ำมันตะไคร้หอม, ยาทากันยุง
วัตถุประสงค์ของการควบคุมวัตถุประสงค์ของการควบคุม • ลดประชากรพาหะ • ลดอายุขัยพาหะ • ลดการสัมผัสระหว่างยุงพาหะกับคน • ลดการแพร่เชื้อโรค
การควบคุมกำจัดยุงพาหะนำโรคการควบคุมกำจัดยุงพาหะนำโรค วิธีกล สิ่งมีชีวิต สารเคมี
การป้องกันตนเอง • นอนกางมุ้ง/ติดมุ้งลวด • ใช้ยาจุดกันยุง/ทากันยุง
ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อม • ระบบ • เฝ้าระวัง • ดัชนีลูกน้ำยุงลาย • ผู้ป่วย • เตือนภัย • แจ้งเตือนพื้นที่ที่มีดัชนีลูกน้ำยุงลายสูง • แจ้งเมื่อมีผู้ป่วยเกิดขึ้นให้ ผู้บริหารระดับอำเภอ จนท.สธ พื้นที่ อปท ทราบ ทันที • แจ้งเมื่อมีผู้ป่วยเกิดขึ้นให้ SRRT ออกปฏิบัติการควบคุมโรคภายใน 24 ชม. ระบบ คน ของ เฝ้าระวัง เตือนภัย รักษาโรค ควบคุมโรค
ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • ระบบ • ควบคุมโรค • พัฒนาศักยภาพ SRRT • พัฒนาแนวทางการควบคุมโรคที่เป็นระบบ รวดเร็ว ชัดเจน • กรณีสงสัย • กรณีแพทย์วินิจฉัย • กำหนดการใช้ ICS ในไข้เลือดออก • การฝึกซ้อมแผนควบคุมโรคที่รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ระบบ คน ของ
ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • ระบบ • การรักษาโรค • พัฒนาCPG ทั้งระดับ รพ.สต. และ รพ.ช. • Criteria การวินิจฉัย และแนวทางปฏิบัติที่รพ.สต. • Criteria การวินิจฉัย และแนวทางปฏิบัติที่รพ.ช. • ระบบรายงานของฝ่ายรักษา • แนวการการConsultation • แนวทางการส่งต่อ ระบบ คน ของ
ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • คน • ประชาชน • ประชุมชาวบ้าน • หอกระจายข่าว • อสม. • พื้นฟูความรู้ ความเข้าใจประจำปี • แนวทางการปฏิบัติงานโรคไข้เลือดออก ระบบ คน ของ
ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • คน • อปท. • นำเสนอข้อมูลเพื่อขอการสนับสนุน และความร่วมมือและหาแนวทางร่วมกัน • ให้ความร่วมมือกิจกรรมที่ อปท.จัด/สร้างเครือข่าย • ครู อาจารย์ นักเรียน • นำเสนอข้อมูลเพื่อขอความร่วมมือ และหาแนวทางร่วมกัน • กิจกรรมป้องกันในโรงเรียน • การเรียนการสอนเรื่องไข้เลือดออกให้นักเรียน ระบบ ของ คน
ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • คน • จนท.สธ. • นโยบายประเทศ • นโยบายจังหวัด • นโยบายอำเภอ • แนวทางปฏิบัติของอำเภอที่ตกลงร่วมกันเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน • ความรู้ ทักษะ ระบบ คน ของ
ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • ของ • เครื่องพ่น • สารเคมี • ทราย • น้ำมันตะไคร้หอม • ยาทากันยุง • ชุดปฏิบัติการพ่นสารเคมี • เวชภัณฑ์ • ยานพาหนะ ระบบ คน ของ
ช่วงระบาด ระยะที่ 2(Phase 2) ตั้งแต่เดือนเมษายน – พฤษภาคม เป็นการป้องกันโรค โดยการเร่งรัดในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน สถานบริการสาธารณสุข/โรงพยาบาล วัด มัสยิด แหล่งท่องเที่ยว • มาตรการรับมือ • รักษา • ควบคุม
ช่วงระบาด • ระบบการรายงาน ที่รวดเร็ว (ภายใน 24 ชั่วโมง) • ความทันเวลาในการควบคุมโรค (ภายใน 24 ชั่วโมง) • มาตรฐานการควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ช่วงระบาด เพื่อให้โรคไข้เลือดออกสงบโดยเร็วที่สุด ไม่ให้ระบาดติดต่อ ไปยังชุมชนอื่น • การเฝ้าระวังโรค (Disease Surveillance) ที่รวดเร็ว ถูกต้อง และครบถ้วน • การเฝ้าระวังทางกีฏวิทยา (Vector Surveillance) สำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ติดตามการเปลี่ยนแปลงประเภทแหล่งเพาะพันธุ์ที่สำคัญ • การเฝ้าระวังเกี่ยวกับผู้ป่วยและเชื้อ โดยศึกษาแนวโน้มของโรค ชนิดของ serotype
การศึกษา การเฝ้าระวังเชื้อไวรัสเดงกี่ในยุงพาหะ และชนิดของ serotype เพื่อศึกษาแนวโน้มของความรุนแรงต่อการเกิดโรค ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี พบว่า
ไวรัสเดงกี่ชนิดที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 83.72 ไวรัสเดงกี่ชนิดที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 6.98 ไวรัสเดงกี่ชนิดที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 9.30
แผนภูมิที่ 2ร้อยละของเชื้อไวรัสเดงกี่แต่ละระยะของยุงลายที่พบเชื้อพื้นที่อำเภอ วารินชำราบ ตระการพืชผล และเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
ช่วงระบาด • เมื่อมีผู้ป่วยสงสัย • Criteria การวินิจฉัย และแนวทางปฏิบัติที่ รพ.ช. • CPG • ระบบรายงาน • ต้องรายงานหรือไม่ • ถ้าต้องรายงานจะรายงานใคร อย่างไร • การควบคุมโรค • ต้องควบคุมหรือไม่ อย่างไร
ช่วงระบาด • เมื่อมีผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัย • CPG • ระบบรายงาน • ระบบควบคุมโรค • SRRT ออกควบคุมโรค ภายใน 24 ชม • กำจัดยุงลายตัวเต็มวัย
ช่วงระบาด • เมื่อมีผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัย • ระบบควบคุมโรค • SRRT ออกควบคุมโรค ภายใน 24 ชม • กำจัดยุงลายตัวเต็มวัย • กำจัดลูกน้ำยุงลาย • มาตรการป้องกันยุงลายกัด • สอบสวนโรค • ถ้าสามารถควบคุมโรคไม่ให้มี Gen 2 => ถือว่าประสบความสำเร็จ
ช่วงระบาด • เมื่อมีผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัย • ระบบควบคุมโรค • SRRT ออกควบคุมโรค ภายใน 24 ชม • กำจัดยุงลายตัวเต็มวัย • สำรวจยุงลายตัวเต็มวัย 1 วันหลังพ่น ถ้ายังพบ แสดงว่าการพ่นไม่มีประสิทธิภาพ • วิธีการพ่น • เครื่องพ่น • สารเคมี • สามรถขอความช่วยเหลือจาก ศตม.ในพื้นที่รับผิดชอบได้
แนวทางปฏิบัติช่วงระบาดแนวทางปฏิบัติช่วงระบาด 1.ประกาศเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชน พร้อมกับ • ให้สุขศึกษาแก่ประชาชน ให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเอง ให้ความรู้วิธีปฏิบัติเมื่อเด็กป่วยหรือสงสัยว่าป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก และวิธีการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้าน และขอให้ประชาชนให้ความร่วมมือกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมดไป • กำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วย และบริเวณรอบบ้านผู้ป่วยควรดำเนินการในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ที่เกิดโรคหลังการควบคุม ควรมีค่า HI 10
แนวทางปฏิบัติช่วงระบาดแนวทางปฏิบัติช่วงระบาด 2.ใช้มาตรการเร่งด่วน คือ การพ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย เพื่อควบคุมการ ระบาด วิธีการนี้จะลดจำนวนยุงลายที่มีเชื้อไข้เลือดออกในชุมชน โดยสามารถ ควบคุมแหล่งแพร่โรคภายใน 24 ชั่วโมง • หากเกิดมีผู้ป่วย ควรดำเนินการควบคุมแหล่งแพร่โรค (หมู่บ้านหรือชุมชน) โดยพ่นสารเคมีในบ้านผู้ป่วย และพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร ควรพ่นอย่างน้อย 2 ครั้งแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน • หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายทั่วไปในชุมชนหรือหมู่บ้าน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีหมู่บ้านอื่นอยู่ข้างเคียง ก็ควรพิจารณาพ่นเคมีเพิ่มเติมให้แก่หมู่บ้านที่อยู่ใกล้เคียงนั้นด้วย
แนวทางปฏิบัติช่วงระบาดแนวทางปฏิบัติช่วงระบาด 3. รายงานโรคไข้เลือดออก (DF/DHF/DSS) ทั้งรายที่สงสัยและที่ได้รับการยืนยันทันที เพื่อการควบคุมโรค 4. พัฒนาทีมเฝ้าระวังและควบคุมโรคระดับอำเภอ ให้สามารถดำเนินการควบคุมโรคอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและทันเวลา 5. ให้สถานพยาบาลทุกแห่ง เตรียมพร้อมทั้งบุคลากรและอุปกรณ์ที่จำเป็นในการรักษาโรคไข้เลือดออก เพื่อรองรับการระบาด 6. ประสานความร่วมมือและพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเครือข่ายในชุมชน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข ให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
หลังระบาด ระยะที่ 3(Phase 3) ตั้งแต้เดือนมิถุนายน– กันยายน เป็นช่วงที่ต้องมีควบคุมการระบาดของโรคให้เกิดน้อยที่สุด (น้อยกว่าค่า Target line) ต้องระงับการแพร่เชื้อ เฝ้าระวังโรค ค้นหาผู้ป่วย ส่งตรวจวินิจฉัย และควบคุมยุงพาหะ • มาตรการป้องกัน • มาตรการเฝ้าระวัง • ถอดบทเรียน
หลังระบาด • ระบบการรายงาน ที่รวดเร็ว • การสอบสวนโรค • ความทันเวลาในการควบคุมโรค • มาตรฐานการควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ -ประเมินผลการดำเนินงานได้แก่ การประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย -การประเมินประสิทธิภาพของการควบคุมโรคระดับอำเภอ ไม่พบผู้ป่วย Gen 2
จุดเน้นการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค ปี 2556 มาตรการที่ 1อำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการที่ 2สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการที่ 3พัฒนาข่าวกรอง พยากรณ์และเตือนภัยโรคไข้เลือดออก มาตรการที่ 4พัฒนากลไกและขั้นตอนการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉินโรคติดต่อนำโดยแมลง มาตรการที่ 5พัฒนาองค์ความรู้/เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการที่ 6พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการโรคติดต่อนำโดยแมลง
อำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก กิจกรรมที่ 1 สนับสนุน พัฒนาเครือข่ายระดับตำบลในการจัดการพาหะนำโรค แบบผสมผสาน (IVM) กิจกรรมที่ 2สนับสนุน พัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการในแหล่งท่องเที่ยว ปลอดลูกน้ำ กิจกรรมที่ 3สนับสนุนพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนแบบยั่งยืน (PAR) กิจกรรมที่ 4เครือข่ายระดับท้องถิ่นนำ พรบ.สาธารณสุขมาใช้ลดแหล่ง เพาะพันธุ์พาหะนำโรคไข้เลือดออก กิจกรรมที่ 5เร่งรัดอำเภอดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก (สุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำ 3 รอบ ก.พ. พ.ค. ส.ค.)
รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ
รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ
รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ
รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ
รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ
รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ
รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ
สามารถปรับรายชื่อพื้นที่ดำเนินการได้สามารถปรับรายชื่อพื้นที่ดำเนินการได้ E-mail dpc7pher@gmail.com โทร 045-250557
ขอบคุณค่ะ กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี