780 likes | 1.34k Views
File : SC121_welcome_08.swf. หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน. Enter Course. คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน. Music Bg. คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ File : sc121_Objective_08.swf. ยินดีต้อนรับเข้าสู่. รหัสวิชา SC121 (Chemistry 1). สารละลาย (Solution).
E N D
File :SC121_welcome_08.swf หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน Music Bg • คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ File : sc121_Objective_08.swf ยินดีต้อนรับเข้าสู่ รหัสวิชา SC121 (Chemistry 1) สารละลาย (Solution)
File :sc121_Objective_08.swf หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์รายวิชา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • เพื่อรู้จักกับสารละลายและคุณสมบัติต่างๆ • เพื่อให้นักศึกษารู้จักกับการบอกความเข้มข้นในแบบต่างๆ • เพื่อให้นักศึกษาสามารถคำนวณหาผลรวมความเข้มข้นของสารละลายได้ Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน • เมื่อคลิกปุ่ม Enter Course เข้าสู่ไฟล์ : File : sc121_home_08.swf
File :sc121_home_08.swf หัวเรื่อง : หน้าโครงสร้างบทเรียน สารบัญบท องค์ประกอบของสารละลาย การเตรียมสารละลาย การคำนวณ สมบัติคอลลิเกทีฟ คุณสมบัติคอลิเกทีฟของสารละลาย ที่แตกตัวได้(Electrolyte Solution) สารแขวนลอย วิดีโอการทดลอง แบบฝึกหัดเสริมความเข้าใจ คลิกเลือกหัวข้อเพื่อศึกษารายละเอียด ไม่มีเสียง • คลิก องค์ประกอบของสารละลาย link ไปFile : sc121_08_01.swf • คลิก การเตรียมสารละลาย link ไป File : sc121_08_03.swf • คลิก การคำนวณ link ไป File : sc121_08_01.swf • คลิก สมบัติคอลลิเกทีฟ link ไป File : sc121_08_28.swf • คลิก คุณสมบัติคอลิเกทีฟของสารละลายที่แตกตัวได้(Electrolyte Solution) link ไป File : sc121_08_44.swf • คลิก สารแขวนลอย link ไป File : sc121_08_51.swf • คลิก แบบฝึกหัดเสริมความเข้าใจ link ไป File : sc121_08_Exercise_01.swf • คลิก วิดีโอการทดลอง link ไป File : sc121_08_01.swf
File :sc121_08_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา องค์ประกอบของสารละลาย • ตัวทำละลาย (Solute) จะส่วนประกอบที่มากกว่าในสารละลาย • สารละลาย (Solution) เป็นของผสมที่เป็นเนื้อเดียวกันของส่วนประกอบมากกว่าหนึ่งชนิดอาจมีได้มากกว่าหนึ่งของแต่ละส่วนประกอบ 1 • ตัวถูกละลาย (Solvent) เป็นส่วนประกอบที่น้อยกว่าในสารละลาย ตัวอย่างการละลายของสารในน้ำ • เราเรียกสารละลายในภาษาอังกฤษเรียกว่า Solution นะ สารละลายนี้เป็นของผสมที่เป็นเนื้อเดียวกันของส่วนประกอบมากกว่าหนึ่งชนิด หรือ อาจกล่าวได้ว่า สารละลายเป็นสารผสมเอกพันธุ์ซึ่งประกอบไปด้วยตัวถูกละลาย ซึ่งอาจจะมีหนึ่งชนิดหรือมากกว่านั้น ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่น้อยที่สุดในสารละลาย และตัวทำละลายจะเป็นส่วนประกอบที่มากในสารละลาย โดยทั่วไปสารที่มีปริมาณมากกว่าจะถูกกำหนดให้เป็นตัวทำละลาย • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • ภาพลำดับที่หนึ่งทำเป็นลำดับขั้นตอนภาพเคลื่อนไหวข้างล่าง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_02.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา องค์ประกอบของสารละลาย แก๊ส บรรยากาศของเรา • ของแข็ง ทอง 14K แก๊สในของเหลว ของแข็งละลายในของแข็ง น้ำอัดลม ของเหลว ทองคำละลายในปรอท เกิดเป็นอะมัลกัม น้ำปลา น้ำเชื่อม • และโดยทั่วไปสารละลายมีสถานะได้ทั้ง 3 สถานะ คือ สารละลายที่เป็นแก๊ส เช่น บรรยากาศของเรา สารละลายของเหลว เช่น น้ำปลา น้ำเชื่อม และสารละลายของแข็ง เช่น ทอง 14K ซึ่งสารละลายไม่เพียงแต่เป็นของแข็งละลายในของเหลว แต่อาจจะเป็นของแข็งละลายในของแข็ง เช่น ทองคำละลายในปรอท เกิดเป็นอะมัลกัมและอยู่ในลักษณะที่แก๊สในของเหลวได้เช่นน้ำอัดลม • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพกระพริบ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพกระพริบ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพกระพริบ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพกระพริบ และข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_03.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา • ความเข้มข้นของสารละลาย การเตรียมสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลาย • ปริมาณตัวถูกละลาย • ปริมาณตัวทำละลายหรือปริมาณสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลายระบุเป็น 2 ลักษณะ คือ • บอกปริมาณของตัวถูกละลายในสารละลาย (Solvent) • เช่น หน่วยโมเลกุล (mol/kg) • บอกปริมาณของตัวถูกละลายในตัวทำละลาย (Solute) • เช่น ร้อยละ โมลาริตี้ • ภาพแสดงการละลายเกลือในน้ำ ความเข้มข้นของสารละลายเป็นค่าที่บอกให้ทราบว่าสารละลายหนึ่งๆหรือในตัวทำละลายหนึ่งๆ มีปริมาณตัวทำละลายจำนวนเท่าไร ความเข้มข้นของสารละลายมักจะบอกเป็นมวลของตัวถูกละลายต่อปริมาตรของสารละลาย • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพแก้วน้ำมีน้ำและช้อนเทเกลือลงไปในน้ำ • จากนั้นเมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่โดยซูมไปที่ภาพเกลือในช้อนจากนั้นแสดงภาพลำดับที่สอง • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา • ความเข้มข้นของสารละลาย การเตรียมสารละลาย จำนวนโมลของสาร จำนวนกรัมหรือกิโลกรัมของสาร ปริมาตรของสาร ดังเช่นถ้าเราทราบจำนวนโมลของตัวถูกละลาย ซึ่งหาได้จากจำนวนกรัมหรือกิโลกรัมของสารนั้น รวมถึงปริมาตรของสารละลายทั้งหมดจะทำให้เราสามารถหาค่าความเข้มข้นของสารได้ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงเครื่องชั่งน้ำหนักขึ้นมามีเกลือวางอยู่บนเครื่องชั่งน้ำหนักและซูมให้เห็นโมเลกุลของเกลือพร้อมขึ้นข้อความว่าจำนวนโมลของสาร • จากนั้นเมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงเครื่องชั่งน้ำหนักว่ามีน้ำหนักเท่าไรพร้อมขึ้นข้อความว่าจำนวนกรัมหรือกิโลกรัมของสาร • จากนั้นเมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงปริมาตรของสารคือแสดงไปที่เกลือบนเครื่องชั่งน้ำหนัก • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_05.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • เมื่อตัวถูกละลายละลายในตัวทำละลาย สารที่เกิดขึ้นเรียกว่า สารละลาย • สารละลายเกิดจากการแพร่ของตัวถูกละลายในตัวทำละลาย • เช่น น้ำส้มสายชูเป็นสารละลายของกรดอะซีติก ซึ่งเป็นตัวถูกละลายในน้ำที่เป็นตัวทำละลาย • ความเข้มข้นสามารถบอกได้จากจำนวนตัวถูกละลายในตัวทำละลาย น้ำส้มสายชู 90 กรัม 90 กรัม มวลของตัวถูกละลาย (solute) มวลของตัวทำละลาย(solvent) น้ำ เมื่อตัวถูกละลายละลายในตัวทำละลาย สารที่เกิดขึ้นเรียกว่า สารละลาย สารละลายเกิดจากการแพร่ของตัวถูกละลายในตัวทำละลาย เช่น น้ำส้มสายชูเป็นสารละลายของกรดอะซีติก ซึ่งเป็นตัวถูกะลายในน้ำที่เป็นตัวทำละลาย จำนวนตัวถูกละลายในตัวทำละลายเป็นสิ่งสำคัญ ใช้ระบุถึงความเข้มข้นได้นั่นเอง • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่และภาพลำดับที่ ให้แสดงภาพแก้วทั้งสองจากนั้นเทน้ำส้มสายชูลงในแก้วน้ำคนให้เข้ากัน • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป น้ำผสมกับน้ำส้มสายชู 180g (Solution)
File :sc121_08_06.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา • สภาวะของการละลาย การเตรียมสารละลาย ปริมาณของตัวถูกละลายในตัวทำละลายใช้ระบุสภาวะของการละลายได้เป็น สี่รูปแบบได้แก่ แบบไม่อิ่มตัว ซึ่งตัวถูกละลายยังสามารถละลายในตัวทำละลายได้อีกจนกลายเป็น แบบอิ่มตัวซึ่งตัวทำละลายไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีกแล้ว หากเติมตัวถูกละลายลงไปอีกจะตกตะกอนหากมีการเพิ่มความสามารถในการละลายเช่น ให้ความร้อนจะก่อให้เพิ่มปริมาณของตัวถูกละลายในตัวทำละลายกว่าปกติกลายเป็นแบบอิ่มตัวยิ่งยวด แต่เมื่อสารละลายถูกปรับให้อยู่ในสภาวะปกติ เช่น กลับเป็นอุณหภูมิห้อง ตัวถูกละลายส่วนเกินจะตกตะกอนเป็นแบบ precipitate forms • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • ให้แสดงภาพลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_07.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา • ความเข้มข้นของสารละลาย การเตรียมสารละลาย สิ่งที่เราจะรู้ได้ว่ามีปริมาณสารอยู่ในตัวทำละลายเยอะแค่ไหน เศษส่วนโมล (Mole fraction) ร้อยละมวลต่อปริมาตร (Weight/Volume %) คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง ร้อยละมวลต่อปริมาตร (Weight/Volume%) คือ มวลของตัวถูกละลายต่อ ปริมาตรของสารละลาย ความหนาแน่น, d, density d = มวลของสารละลาย/ปริมาณของสารละลาย เช่น น้ำ dน้ำ= 1 g/ml หมายความว่า น้ำที่มีมวล 1 กรัมจะมี ปริมาตรเท่ากับ 1 มิลลิลิตร พอดี โมแลลิตี (Molality ,m) ร้อยละโดยปริมาตร (Volume/Volume %) ร้อยละโดยมวล (Weight/Weight %) และ ppm ,ppb โมลาริตี (Molarity ,M) ทำความรู้จักกับความหนาแน่น คลิกเพื่อศึกษารายละเอียด ดังนั้นเมื่อทราบค่าต่างๆ ของตัวถูกละลายและตัวทำละลายก็สามารถหาความเข้มข้นได้ ความเข้มข้นของสารละลายสามารถบอกได้เป็น ร้อยละมวลต่อปริมาตรร้อยละโดยปริมาตร ร้อยละโดยมวลหากเราสามารถรู้จำนวนโมลของตัวถูกละลาย จะสามารถบอกเป็นโมลาริตี โมแลริตีและ เศษส่วนของโมล ที่นี้คลิกเพื่อศึกษารายละเอียดได้นะ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • เมื่อผู้เรียนใช้เม้าส์ผ่านบนข้อความให้เกิดกล่องข้อความขึ้นมา ดังข้อความด้านล่างนี้ • ร้อยละต่อปริมาตร (Weight/Volume %) คือ มวลของตัวถูกละลาย ต่อ ปริมาตรของสารละลาย • ร้อยละโดยปริมาตร(Volume/Volume %) คือ ปริมาตรของตัวถูกละลาย ต่อปริมาตรของสารละลาย ในหน่วยเดียวกัน • ร้อยละโดยมวล (Weight/Weight %) คือ มวลของตัวถูกละลาย ต่อ มวลของสารละลาย ในหน่วยเดียวกัน • โมลาริตี (Molarity (M)) คือ จำนวนโมลของตัวถูกละลายในสารละลาย 1 ลิตร • โมแลลิตี (Molality (m)) คือ จำนวนโมลของตัวถูกละลายในตัวทำละลาย 1 กิโลกรัม • เศษส่วนโมล(Mole fraction) คือ โมลขององค์ประกอบใดๆ ในจำนวนโมลรวมขององค์ประกอบทั้งหมด • และเมื่อคลิกแต่ละปุ่มจะ ลิงค์ไปดังนี้ • ร้อยมวลละต่อปริมาตร (Weight/Volume %) File :sc121_08_08.swf • ร้อยละโดยปริมาตร(Volume/Volume %)File :sc121_08_09.swf • ร้อยละโดยมวล (Weight/Weight %) File :sc121_08_10.swf • โมลาริตี (Molarity ,M) File :sc121_08_11.swf • โมแลลิตี (Molality ,m) File :sc121_08_15.swf • เศษส่วนโมล(Mole fraction)File :sc121_08_16.swf • ภาพในวงกลมจะมีการแสดงเป็นลำดับแอนนิเมชันตามลำดับและวงกลมรอบล้อมจะหมุนสวนทางกันไปมา • เมื่อคลิก Next ปรากฏFile : sc121_08_21.swf
File :sc121_08_08.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • ร้อยละมวลต่อปริมาตร (Weight/Volume %) • สมมติว่าถ้ามีเกลือหรือโซเดียมคลอไรด์ น้ำหนัก 5 กรัม ละลายลงในน้ำแล้วทำให้สารละลายทั้งหมดมีปริมาตร 200 มิลลิลิตร แล้วลองหาความเข้มข้นของสารละลายที่ได้นะ คิดว่าจะได้เท่าไร มวลของตัวถูกละลาย ปริมาตรของสารละลาย ตัวถูกละลาย(Solvents) โซเดียมคลอไรด์ น้ำหนัก 5 กรัม ตัวทำละลาย(Solute) น้ำทำให้สารละลายมีปริมาตร 200 มิลลิลิตร 5 กรัม คลิกดูการทดลอง • เกลือ น้ำ มาดูกันว่า ร้อยละมวลต่อปริมาตร (Weight/Volume %) นั้น คือ มวลของตัวถูกละลายหารด้วยปริมาตรของสารละลาย โดยถ้าสมมติว่า ถ้ามีเกลือหรือที่เรารู้จักกันในทางเคมีว่า โซเดียมคลอไรด์ น้ำหนัก 5 กรัม ละลายลงในน้ำ แล้วทำให้สารละลายทั้งหมดมีปริมาตร 200 มิลลิลิตร แล้วลองหาความเข้มข้นของสารละลายที่ได้นะ คิดว่าจะได้เท่าไรเราสามารถแทนค่าต่างๆ ลงในสูตรที่เห็นคือ สารละลายเท่ากับ 5 กรัมหารด้วยปริมาตรทั้งหมดของสารละลาย 200 มิลลิลิตร และค่าที่ได้ต้องคูณด้วย 100 เพราะเราต้องการหาเป็นเปอร์เซ็นต์ จะได้ว่า ในสารละลายนี้ มีความเข้มข้นอยู่ 2.5 ร้อยละมวลต่อปริมาตร ซึ่งสามารถแทนด้วยร้อยละมวลต่อปริมาตร (Weight/Volume %) ได้ ดังที่ปรากฎนะ • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • รอให้ผู้เรียนคลิกปุ่ม คลิกดูการทดลอง จะมีการเคลื่อนไหวโดยการช้อนไปเกลือในชามเทลงในแก้วทดลองจากนั้นให้ใช้ช้อนคนให้เข้ากันพร้อมขึ้นข้อความลำดับที่เจ็ดและแปด • ถ้าผ่านไปสักห้าวินาทีผู้เรียนไม่คลิกให้ คลิก auto click และแสดงการเคลื่อนไหวดังกล่าว • เมื่อคลิก ปิด ปรากฏสไลด์ที่ • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf ตัวถูกละลาย(Solvents) โซเดียมคลอไรด์ น้ำหนัก 5 กรัม 5 g/ 200 * 100 = 2.5 wt/v% ตัวทำละลาย(Solute) น้ำทำให้สารละลายมีปริมาตร 200 มิลลิลิตร คลิกดูการทดลอง น้ำผสมกับเกลือ
File :sc121_08_09.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • ร้อยละโดยปริมาตร(Volume/Volume %) หน่วยลิตร • การบอกความเข้มข้นในร้อยละของปริมาตร ต้องให้อยู่ในหน่วยของปริมาตรเดียวกัน 5 ลิตร 5 ลิตร • เกลือ \ 200มิลลิลิตร \ 200มิลลิลิตร \ 10 มิลลิลิตร \ 10 มิลลิลิตร น้ำ การบอกความเข้มข้นในร้อยละของปริมาตร ต้องให้อยู่ในหน่วยของปริมาตรเดียวกัน เช่น หากเป็นลิตรก็ต้องอยู่ในหน่วยลิตร ทั้งตัวถูกละลายและตัวทำละลายนะ เช่นเดียวกันหากเป็นมิลลิลิตรก็ต้องทำให้เป็นหน่วยเดียวกัน หน่วยมิลลิลิตร หน่วยมิลลิลิตร • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ น้ำ แอลกอฮอล์ น้ำ แอลกอฮอล์ ปริมาตรของตัวถูกละลาย(Volume Solute) ปริมาตรของตัวถูกละลาย(Volume Solute) X 100 X 100 ร้อยละโดยปริมาตร(volume/volume%) ร้อยละโดยปริมาตร(volume/volume%) ปริมาตรของสารละลายในหน่วยเดียวกัน(Total Volume) ปริมาตรของสารละลายในหน่วยเดียวกัน(Total Volume) หากมีแอลกอฮอล์ 10 มิลลิลิตร ละลายในน้ำแล้วทำให้เป็นปริมาตร 200 มิลลิลิตร สารละลายนี้จะมีความเข้มข้นเท่าใด คลิกดูการทดลอง ขอยกตัวอย่างนะ หากมีแอลกอฮอล์ 10 มิลลิลิตร ละลายในน้ำแล้วทำให้เป็นปริมาตร 200 มิลลิลิตร สารละลายนี้จะมีความเข้มข้นเท่าใด • รอให้ผู้เรียนคลิกปุ่ม คลิกดูการทดลอง จะมีการเคลื่อนไหวโดยการช้อนไปเกลือในชามเทลงในแก้วทดลองจากนั้นให้ใช้ช้อนคนให้เข้ากัน แอลกอฮอล์ = 10ml/ 200ml * 100 = 5 v/v% น้ำ 10 มิลลิลิตร 200 มิลลิลิตร คลิกดูการทดลอง แอลกอฮอล์ น้ำ เราสามารถแทนค่าลงในสูตรได้เลย เนื่องจากทั้งตัวถูกละลายและตัวทำละลาย อยู่ในหน่วยมิลลิลิตรเหมือนกัน จะได้ว่าตัวถูกละลาย ซึ่งก็คือ แอลกอฮอล์ 10 มิลลิลิตร หารด้วย ปริมาตรทั้งหมดของสารละลาย 200 มิลลิลิตร อย่าลืมคูณด้วย 100 หากต้องการหาเป็นเปอร์เซ็นต์ จึงได้ว่าสารละลายนี้มีความเข้มข้นของแอลกอฮอล์อยู่เท่ากับ 5 ปริมาตร ต่อปริมาตรเปอร์เซ็นต์ จะเห็นได้ว่า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ส่วนใหญ่ จะระบุข้างขวดเป็นค่าของร้อยละของปริมาตร ซึ่งก็หมายถึงเปอร์เซ็นต์ของแอลกอฮอล์ในสารละลายทั้งหมดโดยปริมาตรนั่นเอง ต่อไปเวลาดื่มแอลกอฮอล์อย่าลืมสังเกตข้างขวดด้วย • ถ้าผ่านไปสักห้าวินาทีผู้เรียนไม่คลิกให้ คลิก auto clickจะมีการเคลื่อนไหวโดยการช้อนไปเกลือในชามเทลงในแก้วทดลองจากนั้นให้ใช้ช้อนคนให้เข้ากัน • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf
File :sc121_08_10.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • ความเข้มข้นของสารละลาย • ร้อยละโดยมวล (Weight/Weight %) มวลของตัวถูกละลายในหน่วยเดียวกัน ร้อยละโดยมวล มวลของตัวสารละลายในหน่วยเดียวกัน การบอกความเข้มข้นสำหรับสารละลายที่อยู่ในรูปของแข็ง ที่ทราบน้ำหนักในหน่วยเดียวกัน แฮม มวลของตัวถูกละลาย 5 กรัม 200 กรัม ไขมัน มวลของสารละลายทั้งหมด = 5 g/ 200g * 100 = 2.5 ร้อยละโดยมวล (Weight/Weight %) แฮม ตัวอย่างของการบอกความเข้มข้นสำหรับสารละลายที่อยู่ในรูปของแข็ง ที่ทราบน้ำหนักในหน่วยเดียวกันดังที่เห็น ปรกติน้ำหนักของตัวถูกละลายในที่นี้คือไขมัน 5 กรัม หารด้วย น้ำหนักของสารละลายทั้งหมด ซึ่งก็คือแฮม 200 กรัมนั่นเอง คูณด้วย 100 หากต้องการหาเป็นเปอร์เซ็นต์ จะเท่ากับ 2.5 ร้อยละโดยมวล สามารถเขียนแทนด้วย ร้อยละโดยมวล Weight/Weight % ดังที่ปรากฎ ในเชิงการค้าแล้วจะติดฉลากว่าเป็น 97.5 เปอร์เซ็นต์ คือไร้ไขมันนั่นเอง • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ปรากฏข้อความลำดับที่หนึ่งและข้อความลำดับที่สองรวมถึงแสดงภาพลำดับที่หนึ่งและลำดับที่สอง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ภาพลำดับที่หนึ่งกระพริบพร้อมก้บแสดงข้อความลำดับที่สามกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้ภาพลำดับที่สองกระพริบพร้อมกับแสดงข้อความลำดับที่สามให้ เลข สองร้อยกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้ข้อความลำดับที่สามกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่สี่ • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf
File :sc121_08_11.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • โมลาริตี(Molarity,M) • โมลาริตี หมายถึง จำนวนโมลของ ตัวถูกละลายที่ละลายอยู่ในสารละลาย 1 ลิตร น้ำ 58.44 กรัม • เกลือ น้ำ เติมตัวทำละลาย มวลของตัวถูกละลาย ต้องทำให้เป็นจำนวนโมล ทำให้เป็นสารละลายปริมาตร 1 ลิตร คลิกการคำนวณจากกรัมเป็นโมลเพื่อศึกษาเพิ่มเติม การคำนวณจากกรัมเป็นโมล โมลาริตี หมายถึง จำนวนโมลของตัวถูกละลายที่ละลายอยู่ในสารละลาย 1 ลิตร เช่น น้ำและโซเดียมคลอไรด์หนัก 58.44 กรัมเติมเกลือลงในน้ำทำให้จะได้สารละลายที่ได้มีปริมาตร 1 ลิตร สารละลาย และโซเดียมคลอไรด์หนัก ที่ได้ มีความเข้มข้น 1 โมลาร์ หรือ โมลต่อลิตร ให้สังเกตว่าการระบุถึงโมลาริตีให้เน้นถึงตัวอาร์เล็กทีริตี้เสมอ การเขียนย่อก็จะเป็น เอ็มตัวใหญ่ ให้สังเกตให้ดี เนื่องจากอาจจะสับสนกับ โมแลลิตี ซึ่งเป็นตัว แอล และเขียนย่อด้วย เอ็มเล็ก • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่เป็นการเทเกลือลงในน้ำในแก้วแล้วใช้ช้อนคนให้เกลือกับน้ำเข้ากัน • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ให้ตัวเอ็มใหญ่กระพริบด้วย • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • ให้ตัวเอ็มเล็กกระพริบด้วย • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf ข้อพึงระวัง • โมลาริตี(Molarity,M ) ให้เน้นที่ตัวอาร์เล็กที่ริตีเสมอ • การเขียนย่อก็จะเป็น เอ็มตัวใหญ่ • โมแลลิตี (molality,m) การเขียนย่อก็จะเป็น เอ็มเล็ก น้ำผสมกับเกลือ
File :sc121_08_12.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • โมลาริตี(Molarity,M) กรัม (Gram ) โมล(Mole ) โซเดียม(Na ) คลอไรด์(Cl ) 23 35.5 58.5 g/mol MWNaCl 58.5 g/mol คิดเป็นกี่โมล สูตร mole = g/mw • ทำเป็นป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_11.swf
File :sc121_08_13.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลาย • โมลาริตี้ (Molarity,M)) จงคำนวณ molarityของสารละลาย 2 ลิตร ที่มีโซเดียมไฮดรอไซด์อยู่ 10 โมล M = moles solute = จำนวนโมลของตัวถูกละลาย Liters solution ปริมาตรของสารละลายเป็นลิตร น้ำ MNaOH = 10 mol/2L = 5.0 M 58.44 กรัม • เกลือ น้ำ มวลของสารละลาย จำนวนโมลของตัวถูกละลายต้องทำให้เป็นจำนวนโมล ทำให้เป็นสารละลายปริมาตร 1 ลิตร มาดูตัวอย่างกันจากโจทย์ที่ให้มาก่อนอื่นเราต้องหาให้ได้ว่าตัวถูกละลายมีอยู่กี่โมล ตามด้วยว่าปริมาตรของสารละลายมีอยู่กี่ลิตร จากโจทย์จะเห็นว่าระบุสารละลายมีอยู่ 2 ลิตร และตัวถูกละลายซึ่งเป็น โซเดียมไฮดรอไซด์มีอยู่ 10 โมลสามารถแทนค่าลงในสูตรได้เลย จะได้ค่าออกมาเป็น 5 โมลาร์ ดังสมการที่ปรากฎ • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf น้ำผสมกับเกลือ
File :sc121_08_14.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • ความเข้มข้นของสารละลาย • โมลาริตี้ (Molarity(M)) จงหา molarity ของน้ำ 2 ลิตรที่มี อยู่ HCl 18.23 กรัม M = moles solute = จำนวนโมลของตัวถูกละลาย Liters solution ปริมาตรของสารละลายเป็นลิตร น้ำ FWHCl = [1.008 x 1H] + [35.45 x 1Cl] = 36.46 g/mol จำนวนโมลของ HCl = 18.23 g / 36.46 gmol-1 = 0.5 mol MHCl = 0.5 mol / 2 L = 0.25 M กรดไฮโดรคลอริก (HCl) ? โมล 2ลิตร กรดไฮโดรคลอริก น้ำ ปริมาตรที่ใช้น้ำให้เป็น 2 ลิตร ตัวอย่างถัดมาเราทราบว่าสารละลายมีอยู่ 2 ลิตร แต่โจทย์ไม่ได้บอกจำนวน โมลของ กรดไฮโดรคลอริก (HCl) แต่บอกน้ำหนักเป็นกรัม เราสามารถหาจำนวนโมลได้จากสูตรที่ว่า จำนวนโมลเท่ากับ น้ำหนักเป็นกรัมหารด้วยน้ำหนักโมเลกุลของสาร ดังนั้น เราต้องทราบน้ำหนักโมเลกุลของ กรดไฮโดรคลอริก (HCl) ให้ได้ จากตารางธาตุ จะพบว่า 1 อะตอมของไฮโดรเจนหนัก 1.008 และ 1 อะตอมของคลอไรด์หนัก 35.45 เมื่อจับมารวมกันจะได้ว่ามีน้ำหนักโมเลกุลอยู่เท่ากับ 36.46 กรัมต่อโมล จากนั้นนำมาหาจำนวนโมล แทนค่าลงในสูตรจะจำนวนโมลของ กรดไฮโดรคลอริก (HCl) ได้ค่าเท่ากับ 0.5 โมล จากนั้นจึงสามารถเอามาแทนค่าในสูตรของโมลาริตี้ได้นั่นคือ 0.5 โมลหารด้วย 2 ลิตร เท่ากับ 0.2 โมลาร์นั่นเอง ระบุด้วยเอ็มใหญ่อย่างที่เห็น • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงเฟดภาพตารางธาตุขึ้นมาเป็นป๊อบอัพซูมเน้นที่ธาตุทั้งสองและให้ธาตุทั้งสองมารวมกันได้เท่ากับสามสิบสี่จุดสี่หกกรัมต่อโมล • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf ไฮโดรเจนหนัก 1.008 ไฮโดรเจนหนัก 1.008 คลอไรด์หนัก 35.45 คลอไรด์หนัก 35.45 เท่ากับ 36.46 กรัมต่อโมล
File :sc121_08_15.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา • ความเข้มข้นของสารละลาย การเตรียมสารละลาย • โมแลลิตี (molality,m) คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • โมลต่อกิโลกรัม หรือ โมแลลต์(molal,m) • หมายถึง จำนวนโมลของตัวถูกละลาย(solvent) ที่ละลายอยู่ในตัวทำละลาย(solute) หนัก 1 กิโลกรัม มวลของตัวสารละลาย มวลของตัวถูกละลาย molality (m) = moles solute kilograms solvent น้ำ • วิธีคิด • หากรู้จำนวนโมลต้องหาจำนวนกรัมของตัวถูกละลาย(solvent) • หากรู้จำนวนกรัมต้องหาจำนวนโมลของตัวทำละลาย(solute) 1 โมล 1 กิโลกรัม 1 กรัม 1 กิโลกรัม 1 กิโลกรัม 10 โมล • เกลือ น้ำ น้ำ น้ำ น้ำ น้ำ ต่อไปจะรู้จักกับอีกหน่วยความเข้มข้นหนึ่ง ซึ่งสับสนกันมาก จึงต้องสังเกตว่าการเรียกชื่อจะเป็น โมแลลต์ ซึ่งใช้แทนด้วยเอ็มเล็ก โดยจะเกี่ยวข้องกับจำนวนโมลของตัวถูกละลายเหมือนเดิม แต่คราวนี้โมแลลิตี้ จะถูกหารด้วยน้ำหนักของตัวทำละลายหรือตัวทำละลายในหน่วยกิโลกรัมเสมอ ดังนั้นวิธีคิด ต้องสังเกตว่าในโจทย์ทีให้รู้จำนวนโมลของตัวถูกละลายแล้วหรือยัง • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • ความเข้มข้นของสารละลาย การเตรียมสารละลาย • โมแลลิตี (molality,m) ต้องเปลี่ยนหน่วยให้ถูกต้องก่อนคำนวณ เช่น กรัม กิโลกรัม โมล กิโลกรัม น้ำ น้ำ น้ำ น้ำ ตัวทำละลาย(solute) ตัวทำละลาย(solute) และรู้น้ำหนักเป็นกรัมหรือกิโลกรัมของตัวทำละลาย(solute) แล้วหรือยัง หากเป็นกรัมต้องทำให้เป็นกิโลกรัมก่อน หากตัวทำละลาย(solute) บอกมาเป็นจำนวนโมล ต้องนำมาแปลงให้เป็นกิโลกรัมให้ได้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf น้ำผสมกับเกลือ
File :sc121_08_16.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • ความเข้มข้นของสารละลาย • เศษส่วนโมล (Mole fraction) X = จำนวนโมลของสารที่สนใจ จำนวนโมลขององค์ประกอบทั้งหมดในสารละลาย สาร A เศษส่วนโมลของสาร A(xA) = moles A total moles นั้นคือ xA + xB + …….. = 1 1 = xsolute+ xsolvent การบอกหน่วยความเข้มข้นอีกตัวหนึ่งจะอยู่ในรูปของจำนวนโมล ในกรณีที่สามารถรู้จำนวนโมลของทุกองค์ประกอบในสารละลายนั้น เศษส่วนโมลจะใช้ในรูปของ เอ็กซ์ เท่ากับ จำนวนโมลของสารที่สนใจ หารด้วย จำนวนโมลขององค์ประกอบทั้งหมดในสารละลาย อย่างเช่น หากเราสนใจสาร A ก็จะได้ว่าเศษส่วนโมล หรือ สัดส่วนโมลของสาร A แทนด้วย เอ็กซ์ ที่มีตัวห้อย เอ แสดงถึงจำนวน โมลของสาร A หารด้วยจำนวนโมลขององค์ประกอบทั้งหมดในสารละลาย และเมื่อนำเศษส่วนโมลขององค์ประกอบทั้งหมดในสารละลายมาบวกกัน จะมีค่าเท่ากับ 1 และหากมีตัวถูกละลายเพียง 1 ตัวละลายในตัวทำละลาย 1 ชนิด จะได้ว่า เศษส่วนโมลของตัวถูกละลายบวกกับเศษส่วนโมลของตัวทำละลายจะมีค่าเท่ากับ 1 • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf
File :sc121_08_17.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • ความเข้มข้นของสารละลายจากการแปรหน่วยความเข้มข้นต่างๆ • เศษส่วนโมล (Mole fraction) การหาเศษส่วนโมล (Mole fraction) กำหนดว่าจำนวนมวลทั้งหมดเท่ากับ 100 กรัม 2. คำนวณหาจำนวนโมลของทั้งสองสาร 3. หาเศษส่วนโมล ร้อยละโดยมวล (Mass percent) mass percent of solute = mass solute x 100 total mass solution 100 กรัม 100 กรัม 1 กรัม เกลือ (NaCl) น้ำ น้ำ การหาโมลแฟ็กชั่นหรือ เศษส่วนโมล สำหรับโจทย์ที่บอกค่าเป็นเปอร์เซ็นต์โดยมวล ซึ่งมีสูตรจำนวนมวลโดยรวมของสารละลายเท่ากับ 100 จากนั้นจึงหาจำนวนโมลของสารทุกตัว แล้วจึงมาหาเศษส่วนโมลต่อไป • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความและภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความและภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf
File :sc121_08_18.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • เศษส่วนโมล (Mole fraction) จงหาเศษส่วนโมล (Mole fraction) ของ สารละลาย20 weight/weight % H2O2 80% ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ คำนวณหาจำนวนโมลของน้ำ = 80 g / 18.02 g.mol-1 = 4.44 mol H2O จำนวนโมลของ H2O2 = 20 g / 34.02 g.mol-1 = 0.588 mol H2O2 หาเศษส่วนโมล X H2O2= 0.588 = 0.117 0.588+4.44 20% ตัวอย่างเช่น โจทย์กำหนดให้ร้อยละโดยมวลของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ มีอยู่ 20 เปอร์เซ็นต์ จงหาเศษส่วนโมล โดยทั่วไปแล้ว หากโจทย์กำหนดเป็น 20 เปอร์เซ็นต์ และไม่มีการระบุว่าเป็น โดยมวลหรือโดยปริมาตร จะหมายถึงโดยมวลเสมอ จากโจทย์จึงได้ว่า เรามีเนื้อสารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์อยู่ 20 กรัม กับน้ำ 80 กรัม ตามร้อยละโดยมวล จึงสามารถนำมาหาจำนวนโมลได้ เริ่มจากน้ำ 80 กรัม นำมาหารด้วยน้ำหนักโมเลกุล 18.02 กรัมต่อโมล จะได้ว่ามีน้ำอยู่ 4.44 โมล ขณะที่ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 20 กรัม นำมาหารด้วยน้ำหนักโมเลกุล ของมันเองซึ่งมีค่าเท่ากับไฮโดรเจน 2 อะตอม บวกกับออกซิเจน 2 อะตอม ได้ค่าเท่ากับ 34.02 กรัมต่อโมล จะได้ว่ามีอยู่ 0.588 โมล จากนั้นนำมาแทนค่าลงในสูตรของเศษส่วนโมล ของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ได้ว่า 0.588 โมล หารด้วย จำนวนโมลของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์บวกกับจำนวนโมลของน้ำ ดังค่าที่ปรากฎ จะได้คำตอบคือ 0.117 • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf น้ำ
File :sc121_08_19.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • Parts per Million (ppm) ร้อยละโดยมวล = มวลของตัวถูกละลาย x 100 มวลของสารละลายทั้งหมด = 10 กรัม x 100 10 กรัม + 90 กรัม = 10% 90 กรัม 10 กรัม • เกลือ น้ำ มวลของตัวถูกละลาย มวลของตัวทำละลาย น้ำ ก่อนที่จะไปเรียนเรื่องถัดไปขอทบทวนเรื่องร้อยละโดยมวลก่อน ร้อยละโดยมวล หมายถึง จำนวนกรัมของตัวถูกละลายต่อ 100 กรัมของสารละลาย เช่น โซเดียมคลอไรด์ 10 กรัม ในน้ำ 90 กรัม ก็คือ 10 เปอร์เซ็นต์ โดยมวลของสารละลาย จากร้อยละโดยมวลนี้ จะนำไปสู่การคำนวณในเรื่องถัดไป ให้สังเกตว่า สูตรที่ใช้จะเป็นมวลของตัวถูกละลายหารด้วยมวลของตัวทำละลายทั้งหมด คูณด้วย 100 หากเราให้มวลของสารละลายทั้งหมดเป็น 1 กรัม แล้วแทนที่จะคูณด้วย 100 เราจะคูณด้วยค่าที่สูงขึ้น ก็จะทำให้สามารถบอกความเข้มข้นของสารที่มีอยู่จำนวนน้อยมากๆ ได้ • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่กระพริบและแสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf น้ำผสมกับเกลือ 100 g มวลของสารละลาย
File :sc121_08_20.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • ความเข้มข้นของสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง • Parts per Million (ppm) เศษส่วนล้านของตัวถูกละลาย = มวลของตัวถูกละลาย x 106 มวลของสารละลายทั้งหมด ใช้กับการบอกปริมาณของ solute ที่น้อยมากๆ เช่นการบอกว่าต้องมีปริมาตรสารหนูในน้ำประปาน้อยกว่า 5 x 10-8กรัม สามารถบอกเป็น ppm หรือ ppb ppm As = 5 x 10-8กรัม x 106 = 0.05 1 g ppb As = 5 x 10-8กรัม x 109 = 50 1 g 5 x 10-8 กรัม 1 กรัม • สารหนู น้ำ มวลของตัวถูกละลาย มวลของสารละลาย น้ำ Parts per Million หรือที่เราเรียกว่า ppm คือเศษส่วนล้านของตัวถูกละลาย เมื่อปริมาณของตัวถูกละลายน้อยมากๆ โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในน้ำ ดังนั้นจึงมีสูตรอีกสูตรหนึ่งที่ใช้บ่อยคือ เศษส่วนล้านของตัวถูกละลาย โดยเท่ากับ มวลของตัวถูกละลาย หารด้วยมวลของสารละลายทั้งหมด กำหนดให้เป็น 1 คูณด้วย 10 ยกกำลัง 6 หรือ 1 ล้านนั่นเอง หากน้อยมากๆ ก็สามารถคูณด้วย 10 ยกกำลัง 9 หรือ 1 พันล้าน เรียกว่า Parts per Billion • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่และภาพลำดับที่แสดงแก้ว เกลือ จากนั้นเทเกลือลงในแก้วน้ำคนให้เข้ากัน • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Close ปรากฏFile : sc121_08_07.swf
File :sc121_08_21.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย วิธีการเตรียมสารละลาย ละลายตัวถูกละลาย (solute) ในตัวทำละลาย(solvent) ทำสารละลายเข้มข้นเจือจางลง(Dilution method) น้ำส้มสายชู 90 กรัม 90 กรัม มวลของตัวถูกละลาย (solute) มวลของตัวทำละลาย(solvent) น้ำ คลิกทำความรู้จักกับความหนาแน่นเพื่อศึกษาเพิ่มเติม หากต้องการเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นตามต้องการ มีวิธีการเตรียมอยู่ 2 อย่าง ได้แก่ 1. ละลายตัวถูกละลายในตัวทำละลาย 2. ทำให้สารละลายเข้มข้นเจือจางลง เป็นเทคนิคที่ใช้กันมาก เนื่องจากสารละลายส่วนใหญ่จะถูกจำหน่ายในลักษณะที่มีความเข้มข้นสูง ดังตัวอย่างในตาราง • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่และภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่และแสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป น้ำผสมกับน้ำส้มสายชู
File :sc121_08_22.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • วิธีที่หนึ่ง การเตรียมละลายตัวถูกละลาย (solute) ในตัวทำละลาย(solvent) ถ้าต้องการ 0.5 M NaCl ปริมาณ 100 mL • จำนวนโมล(mole) • ปริมาตรเป็นลิตร(V) 0.5 M NaCl ปริมาณ 100 mL • ? = โมลาร์(M) • กรัม หรือ โมลาร์ X ปริมาตร(ลิตร) = จำนวนโมล (M) (V) (#mole) • โซเดียมคลอไรด์ จำนวนโมล= โมลาร์x ปริมาตร หรือ M x V (#mole) จะทำเช่นไรหากต้องการสารละลายของ โซเดียมคลอไรด์0.5 โมลาร์ปริมาตร 100 มิลลิลิตร จากโจทย์เราต้องรู้ว่าต้องใช้โซเดียมคลอไรด์กี่กรัมโจทย์บอกมาเป็นโมลาร์ ซึ่งหากกลับไปดูจะพบว่า จำนวนโมลหารด้วย ปริมาตรเป็นลิตรจะได้โมลาร์นั่นหมายถึงว่า โมลาร์คูณกับปริมาตรเป็นลิตรสามารถบอกจำนวนโมลได้จึงเป็นที่มาของสูตรที่ว่าจำนวนโมลเท่ากับโมลาร์คูณปริมาตรหรือ เอ็มใหญ่คูณด้วยวีนั่นเอง ดังสมการ • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_23.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • วิธีที่หนึ่ง (ต่อ) การเตรียมละลายตัวถูกละลาย (solute) ในตัวทำละลาย(solvent) • แทนค่าจากโจทย์ โมล(Mole)ของ NaCl MxV =0.5Mx0.1L = 0.05 โมล(Mole) • ? • กรัม จาก MWNaCl = 58.44 g/mol • โซเดียมคลอไรด์ จะได้ว่า 0.05 mol ของ NaClคิด เป็นกรัม แทนในสูตร #mole 0.05(mol) x 58.44(g/mol) = 2.922 g เมื่อแทนค่าจะได้ว่าโซเดียมคลอไรด์มีอยู่ 0.5 โมล จากจำนวนโมล เราก็สามารถหาน้ำหนักได้ แทนค่าลงในสูตรที่ว่า จำนวนโมลเท่ากับกรัม หารด้วยน้ำหนักโมเลกุล ดังนั้น ก็สามารถจำนวนโมล0.5 มาหารด้วยน้ำหนักโมเลกุลของโซเดียมคลอไรด์ ซึ่งหาได้จากการนำน้ำหนักอะตอมของโซเดียมบวกกับคลอไรด์ จะได้ 58.44 กรัมต่อโมลเมื่อแทนค่าแล้วจึงได้ว่ามีโซเดียมคลอไรด์อยู่ 2.922 กรัม ต่อไปเราจะแสดงปฏิบัติการจริงในห้องแลบที่สามารถเตรียมสารละลายนี้ได้อย่างไร • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_24.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • วิธีที่หนึ่ง (ต่อ) การเตรียมละลายตัวถูกละลาย (solute) ในตัวทำละลาย(solvent) วิธีการเตรียม • ชั่งปริมาณที่แน่นอนของโซเดียมคลอไรด์(NaCl) ที่แห้ง มา 2.922 กรัม • ใส่ลงใน volumetric flask ขนาด 100 มิลลิลิตร volumetric flask ขนาด 100 มิลลิลิตร volumetric flask ขนาด 100 มิลลิลิตร • เติมน้ำ 1 ใน 3 ส่วนของปริมาตรทั้งหมด • เขย่าให้ละลายใน volumetric flask เติมน้ำ 1 ใน 3 ส่วนของปริมาตรทั้งหมด • เติมน้ำให้ถึงขีดบอกปริมาตรที่แน่นอนของ flask 90 กรัม 2.922 กรัม • โซเดียมคลอไรด์ ปิดจุกเขย่าให้เข้ากัน น้ำ volumetric flask ขนาด 100 มิลลิลิตร volumetric flask ขนาด 100 มิลลิลิตร volumetric flask ขนาด 100 มิลลิลิตร 0.5 MNaCl ปริมาณ 100 mL เขย่าให้ละลายใน flask เติมน้ำให้ถึงขีดบอกปริมาตรที่แน่นอนของ flask ปิดจุกเขย่าให้เข้ากัน วิธีการเตรียมสารละลาย มีดังนี้ ชั่งปริมาณที่แน่นอนของ โซเดียมคลอไรด์ ที่แห้ง มา 2.922 กรัมใส่ลงในขวดเฉพาะที่เรียกว่า volumetric flask ขนาด 100 มิลลิลิตรจากนั้นจึงเติมน้ำ 1 ใน 3 ส่วนของปริมาตรทั้งหมด เขย่าให้ละลายใน flaskแล้วเติมน้ำให้ถึงขีดบอกปริมาตรที่แน่นอนของ flask และปิดจุก แล้วเขย่าให้เข้ากัน • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป เทเกลือใส่ลงใน volumetric flask
File :sc121_08_25.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • วิธีที่สอง การเจือจางสารละลาย จำนวนโมล= โมลาร์x ปริมาตร(ลิตร) คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง ความเข้มข้น อาจไปเจอเป็น C= ความเข้มข้น (Concentration) จำนวนโมลที่เข้มข้นที่ไม่เท่ากันแต่มีจำนวนโมลที่เท่ากัน M1 V1 = M2 V2 โดยทั่วไป ความเข้มข้นของสารที่มากกว่าจะให้เป็น M1 สำหรับหน่วยความเข้มข้นเป็นโมลาร์ จงหาความเข้มข้นของสารละลาย 100 mL ของ 1.5M NaOH ที่ถูกทำให้เจือจางเป็น 2 ลิตร M1 V1 = M2 V2 1.5M x 0.1L = M2 x 2L M2 = 0.075M โซเดียมไฮดรอกไซด์ 1.5 M ความเข้มข้น = 0.075 MNaCl ข้อสังเกตสำหรับหน่วยความเข้มข้นอื่นๆ คลิกความเข้มข้นเพื่อดูเพิ่มเติม วิธีที่ 2 สำหรับการเตรียมสารละลายคือการทำให้สารละลายที่เข้มข้นเจือจางลง มารู้จักกับสูตรกันก่อน จากหน้าที่แล้วจะเห็นว่า จำนวนโมลเท่ากับโมลาร์คูณกับปริมาตรเป็นลิตร หากเรามีสาร 2 ความเข้มข้นซึ่งไม่เท่ากัน แต่มีจำนวนโมลเท่ากัน จะเห็นว่าสูตรที่ใช้คือ M1 V1 = M2 V2 ดูจากโจทย์ตัวอย่างแรก ความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอไซด์ ที่ถูกเจือจางให้เป็น 2 ลิตร จากโซเดียมไฮดรอไซด์ 1.5 โมลาร์ ปริมาตร 100 มิลลิลิตร สามารถแทนค่าลงสูตรได้เพื่อหาความเข้มข้นของสารที่ถูกเจือจาง คือ 0.075 โมลาร์ • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่และ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • และแสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • การแสดงภาพให้เทน้ำลงในขวดปริมาตรจากนั้นกลายเป็นน้ำที่มีปริมาณความเข้มข้น • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_26.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • วิธีที่สอง (ต่อ) การเจือจางสารละลาย ถ้าต้องการทราบปริมาตรของ คอปเปอร์ซัลเฟต 2 โมลาร์ที่ต้องนำมาใช้เพื่อให้ได้คอปเปอร์ซัลเฟตที่มีความเข้มข้นลดลงเป็น 0.1 โมลาร์ ปริมาตร 1 ลิตร การเตรียมสารละลาย 0.1M CuSO4 ปริมาตร 1 ลิตร ด้วยวิธีการเจือจางจาก 2M CuSO4 จากM1 V1 = M2 V2 จะได้ว่า 2M x V1 = 0.1M x 1L V1 = 0.05 L = 50 mL นั้นคือวัดเอามา 50mL ลงใน volumetric flask แล้วเติมน้ำ 950mL หรือให้ถึงเส้นที่ขีดบอกปริมาณ ตัวอย่างที่ 2 เราต้องการทราบปริมาตรของ คอปเปอร์ซัลเฟต 2 โมลาร์ที่ต้องนำมาใช้เพื่อให้ได้คอปเปอร์ซัลเฟตที่มีความเข้มข้นลดลงเป็น 0.1 โมลาร์ ปริมาตร 1 ลิตร วิธีการคิดก็จะแทนค่าสารที่มีความเข้มข้นมากกว่าลงใน เอ็ม 1 ส่วนสารที่มีความเข้มข้นน้อยกว่าให้แทนลงใน เอ็ม2จะได้ว่า ต้องใช้ปริมาตรของคอปเปอร์ซัลเฟตที่เข้มข้นกว่า 50 มิลลิลิตร แล้วนำมาเจือจางลงโดยการเติมน้ำลงไปอีก 950 มิลลิลิตร เพื่อทำให้ได้ปริมาตร 1 ลิตร ตามที่โจทย์ต้องการ • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดข้อความลำดับที่ • การแสดงภาพใช้ไปเปต์ดูดน้ำออกมาเพื่อให้ได้ปริมาณห้าสิบมิลลิกรัมแล้วใส่ไปในฟรานเพื่อเติมน้ำให้เต็มถึงหนึ่งลิตร • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_27.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเตรียมสารละลาย • วิธีที่สอง (ต่อ) การเจือจางสารละลาย คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง จำนวนโมล เท่ากับ สอง โมล • เทคนิคการเตรียม คือ ตวง 2.00 โมลาร์ของคอปเปอร์ซัลเฟต(CuSO4) จำนวน 50.0 มิลลิลิตรโดยใช้ pipetไว้ในขวดบอกปริมาณ(volumetric flask) ขนาด 1 ลิตร • เติมน้ำลงไปให้ต่ำกว่าคอขวดของ ขวดบอกปริมาณ(volumetric flask) • เพิ่มน้ำลงไปทีละนิดแล้ววัดระดับให้แน่นอน • จนถึงเครื่องหมายที่ระดับ 1 ลิตร ก็จะได้คอปเปอร์ซัลเฟต (CuSO 4 ) 0.1 โมลาร์ ปริมาตร 1 ลิตร CuSO4จำนวน 50.0 มิลลิลิตรไว้ในขวดบอกปริมาณขนาด 1 ลิตร จำนวนโมล คลิกความเข้มข้นเพื่อดูเพิ่มเติม ดังนั้น เทคนิคการเตรียม คือ เตรียม 2.00 โมลาร์ของคอปเปอร์ซัลเฟตจำนวน 50.0 มิลลิลิตรไว้ในขวดบอกปริมาณ(volumetric flask)ขนาด 1 ลิตร โดยใช้ปิเปตในการเตรียมเพื่อความถูกต้องที่สุดเติมน้ำลงไปให้ต่ำกว่าคอขวดของขวดบอกปริมาณ และค่อยๆ เพิ่มน้ำลงไปทีละนิดแล้ววัดระดับให้แน่นอน โดยเติมจนถึงเครื่องหมายที่ระดับ 1 ลิตร ก็จะได้คอปเปอร์ซัลเฟต 0.1 โมลาร์ ปริมาตร 1 ลิตร ตามต้องการ • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดข้อความลำดับที่ • การนำเสนอของภาพ • มีขวดรูปชมพู่เปล่าเปล่าหนึ่งอันตั้งไว้มีน้ำอยู่ขนาดหนึ่งลิตรจากนั้นให้ใช้ภาพปิเปตคือภาพลำดับที่สองเติมน้ำลงไปในขวดรูปชมพู่ให้ต่ำกว่าคอขวดของรูปชมพู่จากนั้นค่อยค่อยเติมน้ำลงไปทีละนิดวัดระดับให้แน่นอน • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_28.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ มวลของ ตัวถูกละลาย (solute) มวลของ ตัวทำละลาย(solvent) • สมบัติคอลลิเกทีฟ คือ สมบัติของสารละลายว่าขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของอนุภาคตัวถูกละลาย โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) แพทย์มักจะแนะนำเสมอว่าคนไข้ที่มีความดันโลหิตสูงควรลดปริมาณเกลือในอาหาร • ตัวอย่างของคุณสมบัตินี้ที่สามารถพบได้ในชีวิตประจำวัน เช่น • แพทย์มักจะแนะนำเสมอว่าคนไข้ที่มีความดันโลหิตสูงควรลดปริมาณเกลือในอาหาร • ผู้ใช้รถยนต์จะทราบว่าต้องใส่ Ethylene glycol • จุดเยือกแข็งลดลง ที่ใช้ในถังไอติมนั่นเอง 2 ลิตร 90 กรัม ต้องใส่ Ethylene glycol ในรถยนต์ น้ำ สมบัติคอลลิเกทีฟ คือ สมบัติของสารละลายว่าขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของอนุภาคตัวถูกละลายเท่านั้น ตัวอย่างของคุณสมบัตินี้ที่สามารถพบได้ในชีวิตประจำวันเช่น 1. แพทย์มักจะแนะนำเสมอว่าคนไข้ที่มีความดันโลหิตสูงควรลดปริมาณเกลือในอาหาร2. สำหรับผู้ใช้รถยนต์จะทราบว่าต้องใส่ Ethylene glycol ซึ่งเป็นส่วนผสมหลักในสารต้านการเดือดหรือเยือกแข็งในหม้อน้ำเพื่อป้องกันการเดือดในฤดูร้อน และป้องกันการแข็งตัวของน้ำในฤดูหนาวตามลำดับ คุณสมบัตินี้ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของอนุภาคเท่านั้น โดยไม่คำนึงถึงคุณสมบัติอื่นๆ ของอนุภาคนั้น เรียกคุณสมบัติของสารละลายนี้ว่า “สมบัติคอลลิเกทีฟ”และ การเติมเกลือเพื่อลดจุดเยือกแข็ง ที่ใช้ในถังไอติมนั่นเอง • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • และภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป สมบัติคอลลิเกทีฟ
File :sc121_08_29.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ น้ำผสมกับโซเดียมคลอไรด์(NaCl) น้ำบริสุทธิ์ โซเดียมคลอไรด์(NaCl) ภาพแสดงโมเลกุลของตัวถูกละลาย และตัวทำละลายในสารละลายหนึ่งๆ น้ำ เราจะเริ่มโดยการทดสอบหนึ่งในคุณสมบัติคอลลิเกทีฟ เมื่อตัวถูกละลายถูกทำให้ละลายในตัวทำละลาย ความดันไอของตัวทำละลายจะลดลง ทำไมเหตุการณ์นี่จึงเกิดขึ้น?ภาพนี้สามารถแสดงให้เห็นว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นที่ผิวหน้า ยกเว้นของเหลวที่เดือดและเต็มไปด้วยฟอง ถ้ามีโมเลกุลของตัวถูกละลายในสารละลาย โมเลกุลนั้นจะครอบครองตำแหน่งบนผิวหน้าของสารละลายด้วย ทำให้โมเลกุลของตัวทำละลายจำนวนน้อยลงที่จะสามารถเปลี่ยนไปเป็นสถานะแก๊ส เนื่องจากถูกขัดขวางด้วยอนุภาคหรือโมเลกุลของตัวถูกละลาย • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ซูมภาพลำดับที่ ขึ้นมาจากภาพลำดับที่ • ภาพลำดับที่มีการเคลื่อนไหวดังนี้น้ำคือลูกสีแดงจะหลุดได้ง่ายในน้ำบริสุทธิ์ แต่ ภาพลำดับที่คือน้ำผสมเกลือจะมีการเคลี่อนที่วิ่งชนบนพื้นที่ของผิวน้ำน้อยลงจะหลุดออกน้ำคือลูกสีแดงไปแต่ถูกขัดขวางด้วย NaClคือลูกสีน้ำเงินคือน้ำจะค่อยชนข้างข้างค่อยค่อยแทรกตัวออกมา • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_30.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • กฎของราอูลต์ (Raoult's law) P = xsolvent Po (ก.) เมื่อ P คือ ความดันไอของสารละลาย X Solvent เป็นสัดส่วนโมลของตัวทำละลาย po คือ ความดันไอของตัวทำละลายบริสุทธิ์ จาก เรื่องของเศษส่วนโมล พบว่า Xsolute + Xsolvent = 1 นำไปแทนค่าลงในสมการข้างต้นจะได้ว่า P = (1 - Xsolute) Po P = Po - XsolutePo Po- P = XsolutePo P= XsolutePo (ข.) • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป ผู้ที่ค้นพบปรากฏการณ์นี้ ได้ให้คำตอบก็อยู่ในสมการ จากหน้าที่แล้วถ้าเราแทนความเข้มข้นด้วยเศษส่วนโมลของตัวทำละลาย(Solute)จะทำให้ได้สมการของราอูลท์โดยสามารถแทนค่าของเศษส่วนโมลของตัวถูกละลาย(Solvent) ได้ด้วย 1 ลบกับเศษส่วนโมลของตัวถูกละลาย เมื่อคูณ พีศูนย์เข้าไปในสมการจะได้สมการ ข. จากนั้นหากเราสนใจความเปลี่ยนแปลงของความดันซึ่งควรลดลงนั้น จะลดลงไปเท่าใด โดยนำ พีศูนย์ ลบด้วย พี ใหม่ที่เกิดขึ้นของสารละลาย จะเท่ากับเศษส่วนโมลของตัวถูกละลาย(Solvent) คูณด้วย พีศูนย์นั่นเอง จะเห็นว่าหากมีจำนวนของตัวถูกละลายมากค่า เอ็กซ์โซลูทจะเพิ่มขึ้นและผันตรงกับการเปลี่ยนแปลงความดันไอ
File :sc121_08_31.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา • กฎของราอูลต์ (Raoult's law) สมบัติคอลิเกทีฟ + • คุณสมบัติของคอลลิเกทีฟ คือ • กฎของราอูลท์จะทำงานได้ดีเมื่อตัวถูกละลายเป็น • ของแข็ง เพราะ ของแข็งมีความดันไอต่ำเมื่อเทียบกับ • ของเหลว • การเพิ่มจุดเดือด กลายเป็นไอได้ยากขึ้นทำให้จุด • เดือดที่สูงขึ้น เมื่อใส่ตัวถูกละลายลงไป • การลดจุดเยือกแข็ง อุณหภูมิของตัวทำละลาย • กลายเป็นของแข็งลดลงเนื่องจากอนุภาคจับตัวกันเป็น • ของแข็งได้ยากขึ้น ทำให้น้ำมีจุดเยือกแข็งลดลง - มวลของ ตัวถูกละลาย (solute) มวลของ ตัวทำละลาย(solvent) 4 5 + + 90 กรัม 10 โมล • เกลือ กฎของราอูลต์ (Raoult's law) • จุดเดือดปกติ 1000c - - น้ำ การลดจุดเยือกแข็ง การเพิ่มจุดเดือด - - • จุดเยือกแข็งปกติ 00c กฎของราอูลท์จะทำงานได้ดีเมื่อตัวถูกละลายเป็นของแข็ง เพราะของแข็งมีความดันไอต่ำเมื่อเทียบกับของเหลว คุณสมบัติอีกข้อหนึ่งของคอลลิเกทีฟ คือ การเพิ่มจุดเดือดและการลดจุดเยือกแข็งทั้งสอง คุณสมบัตินี้มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงภาพลำดับที่และข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป น้ำผสมกับเกลือ
File :sc121_08_32.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • การลดลงของความดันไอ (Vapor Pressure) การลดลงของความดันไอ (Vapor Pressure Depression) P = CsolventPo น้ำผสมกับโซเดียมคลอไรด์(NaCl) po คือ ความดันไอของตัวทำละลายบริสุทธิ์ P คือ ความดันไอของสารละลาย Csolvent คือ หน่วยของความเข้มข้นโดยทั่วไปเป็น สัดส่วนโมลของตัวทำละลาย จากกฎของราอูลห์จะได้ว่า ∆P = Xsolute Po น้ำบริสุทธิ์ P < Po ภาพแสดงโมเลกุลของตัวถูกละลาย และตัวทำละลายในสารละลายหนึ่งๆ การลดลงของความดันไอหรือเรียกว่า Vapor Pressure Depression มีความหมายโดยรวมว่าการลดลงของความดันไอ นั่นเอง เกิดขึ้นเนื่องจากความเข้มข้นที่ลดลงไปของตัวทำละลาย โดยที่ตัวทำละลายปกติหรือบริสุทธิ์ให้มีความดันแทนด้วยความดันไอของตัวทำละลายบริสุทธิ์ ส่วนตัวทำละลายที่กลายเป็นสารละลาย จะมีความเข้มข้นที่ลดลงจึงมีผลต่อ ความดันไอใหม่ที่เกิดขึ้น • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่และ แสดงภาพลำดับที่เป็นแอนนิเมชันมีการเคลื่อนไหวดังนี้ • ภาพลำดับที่มีการเคลื่อนไหวดังนี้น้ำคือลูกสีแดงจะหลุดได้ง่ายในน้ำบริสุทธิ์ แต่ ภาพลำดับที่คือน้ำผสมเกลือจะมีการเคลี่อนที่วิ่งชนบนพื้นที่ของผิวน้ำน้อยลงจะหลุดออกน้ำคือลูกสีแดงไปแต่ถูกขัดขวางด้วย NaClคือลูกสีน้ำเงินคือน้ำจะค่อยชนข้างข้างค่อยค่อยแทรกตัวออกมา • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_33.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • การลดลงของจุดเยือกแข็ง คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง Tf0-Tf = ΔTf + การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิกับจุดเยือกแข็ง - ΔTf = kfm การลดจุดเยือกแข็ง เมื่อ ΔTf คือ การลดลงของจุดเยือกแข็ง ΔTf kf คือ ค่าคงที่ของจุดเยือกแข็งที่ลดลงในหน่วยโมแลลต์ และขึ้นกับชนิด ของตัวทำละลายหนึ่งๆ คลิก ΔTfเพื่อดูเพิ่มเติม m คือ โมแลลิตี้ เมื่อเดต้าทีเอฟ คือการลดลงของจุดเยือกแข็ง โดยต้องรู้ว่าสารละลายมีความเข้มข้นในหน่วยโมแลลเท่าใดก่อนนะ ในที่นี้กำหนดให้ เคเอฟ คือค่าคงที่ของจุดเยือกแข็งที่ลดลงในหน่วยโมแลลต์ และขึ้นกับชนิดของตัวทำละลายหนึ่งๆ เท่านั้น ซึ่งเป็นค่าเฉพาะสำหรับสารแต่ละชนิด • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่และแสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป Tf = อุณหภูมิที่สารละลายเยือกแข็ง Tf0= อุณหภูมิตัวทำละลายบริสุทธิ์เยือกแข็ง ทั้งนี้ ค่า ΔTf อาจติดลบได้หากใช้ Tf- Tf0
File :sc121_08_34.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • การลดลงของจุดเยือกแข็ง • ค่าคงที่ของจุดเยือกแข็งที่ลดลงของเบนซีน คือ 5.06 ๐C/m • สารละลายในเบนซีน 1โมแลลต์ • เบนซินบริสุทธิ์จะมีจุดเยือกแข็งที่ 5.46องศาเซลเซียส • จุดเยือกแข็งที่ลดลงของสารละลายนี้จะหาได้โดยแทนค่าลงในสมการ ดังนี้ • Tf ๐= 5.46 • kf = 5 .06องศาเซลเซียสต่อโมแลลต์ • ดังนั้น ∆ Tf = kf m • แทนค่า = 5.06(๐C/m)(1m) • = 5.06๐C • ดังนั้นอุณหภูมิของสารละลายนี้จะเท่ากับ Tf = Tf ๐ - ∆ Tf =5.46 ๐C - 5.06๐C • = 0.40 ๐C ตัวถูกละลายในเบนซีน 1 kg + - 0.4 องศาเซลเซียส การลดจุดเยือกแข็ง ค่าคงที่ของจุดเยือกแข็งที่ลดลงของเบนซีน คือ 5.06 องศาเซลเซียสต่อโมแลลต์หากต้องการทราบค่าจุดเยือกแข็งใหม่ของสารละลายหนึ่งโมแลลต์ในเบนซิน จุดเยือกแข็งของเบนซีนบริสุทธิ์ คือ ที่ห้าจุดสี่หกองศาเซลเซียส ดังนั้น จุดเยือกแข็งที่ลดลงของสารละลายมีค่าเท่ากับห้าจุดสี่หกองศาเซลเซียส ลบด้วย ค่าที่ลดลงของจุดเยือกแข็งที่หาได้จากสมการ คือ ห้าจุดศูนย์หก เท่ากับ ศูนย์จุดสี่ศูนย์ องศาเซลเซียส • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่และแสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง
File :sc121_08_35.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • การลดลงของจุดเยือกแข็ง (Freezing Point) C2H6O250 mL = (1.12 g/mL) x (50mL) = 56 g ตัวอย่าง สารละลายของสารต้านจุดเยือกแข็งเตรียมได้จาก 50 mLของเอททาลีนไกลคลอ (C2H6O2,d =1.12 g/mL) ในน้ำ 50 g จงหาจุดเยือกแข็งของสารละลายนี้ กำหนดให้ kf (water) = 1.86 (C/m) Fw(C2H6O2) = (12x2) + (1x6)+(16x2) = 62 g/mol โมแลลิตี้(m) = 0.903 mol = 18.1 m 0.05 kg moles of C2H6O2 = (56 g) (62 g mol-1) = 0.903 mol ตัวอย่างการลดลงของจุดเยือกแข็ง จากโจทย์เราต้องหาโมแลล์ให้ได้ก่อน โดยอาศัยจำนวนกรัมของตัวถูกละลาย แต่เนื่องจากบอกมาเป็นหน่วยของปริมาตร โดยมีค่าความหนาแน่นให้ 1.12 กรัมต่อมิลลิลิตร จะได้ว่าใน 1 มิลลิลิตรมี 1.12 กรัม หากเป็น 50 มิลลิลิตร จะได้ว่ามีอยู่ 56 กรัม จากนั้นนำมาหาจำนวนโมล โดยการหารด้วยน้ำหนักโมเลกุลของเอททาลีนไกลคลอ 62 กรัมต่อโมลทำให้ทราบว่า จำนวนโมลทั้งหมดมีอยู่ 0.903 โมล จากนั้นเราก็นำมาแทนค่าหาโมแลลต์ด้วยการหารด้วยน้ำหนักเป็นกิโลกรัมของน้ำคือ 0.05 กิโลกรัม จะได้ค่าโมแลลต์เท่ากับสิบแปดจุดหนึ่งโมแลลต์จากนั้นนำไปแทนค่าในสมการโดยคูณกับ ค่าคงที่ของจุดเดือดที่สูงขึ้นของน้ำ ซึ่งโจทย์ให้มา 1.86 องศาเซลเซียสต่อโมแลลต์ • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่และแสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_36.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • การลดลงของจุดเยือกแข็ง เอททาลีนไกลคลอ 18.1m ในน้ำ -33.7 องศาเซลเซียส + การลดลงของจุดเยือกแข็ง (ΔTf ) = kfm = 1.86 C/m x 18.1 m = 33.7 C - • จุดเยือกแข็งของสารละลายคือลดลง 33.7 C • ต่ำกว่าน้ำบริสุทธ์ (-33.7 C) การลดจุดเยือกแข็ง ทำให้ได้คำตอบว่า สารละลายจะมีจุดเยือกแข็งลดลงไป 33.7 องศาเซลเซียส แต่นั่นยังไม่ใช่คำตอบเพราะโจทย์ต้องการหาจุดเยือกแข็ง ดังนั้นวิธีการตอบจะต้องนำไปลบออกจากจุดเยือกแข็งปกติของน้ำ ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0 คำตอบจึงได้ว่าสารละลายนี้มีจุดเยือกแข็งเท่ากับ -33.7 องศาเซลเซียส • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ โดยให้อุณหภูมิลดลง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_37.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด และการลดลงของจุดเยือกแข็ง • (Boiling Point and Freezing Point) การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด และการลดลงของจุดเยือกแข็ง (Boiling Point and Freezing Point) P • ความดันไอของตัวทำละลายที่อนุภาคมีความสามารถในการหลุดออกจากสารละลายได้น้อยลง ความดันไอ (The vapor pressure ) 3 2 + + + เสียงบรรยาย ความดันไอของตัวทำละลายที่อนุภาคมีความสามารถในการหลุดออกจากสารละลายได้น้อยลง - - - การลดจุดเยือกแข็ง การเพิ่มจุดเดือด - - การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด และการลดลงของจุดเยือกแข็ง (Boiling Point and Freezing Point) bp • ความดันไอของตัวทำละลายที่อนุภาคมีความสามารถในการหลุดออกจากสารละลายได้น้อยลง • จุดเดือดสูงขึ้นของตัวทำละลายจากของเหลวบริสุทธิ์ เสียงบรรยาย จุดเดือดสูงขึ้นของตัวทำละลายจากของเหลวบริสุทธิ์ mp การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด และการลดลงของจุดเยือกแข็ง (Boiling Point and Freezing Point) • ความดันไอของตัวทำละลายที่อนุภาคมีความสามารถในการหลุดออกจากสารละลายได้น้อยลง • จุดเดือดสูงขึ้นของตัวทำละลายจากของเหลวบริสุทธิ์ • จุดเยือกแข็งกับจุดหลอมเหลว คือ ค่าเดียวกัน โดยมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคที่ถูกขัดขวางเนื่องจากมีอนุภาคของตัวถูกละลายแทรกตัวอยู่ เสียงบรรยาย จุดเยือกแข็งกับจุดหลอมเหลว คือ ค่าเดียวกัน โดยมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคที่ถูกขัดขวางเนื่องจากมีอนุภาคของตัวถูกละลายแทรกตัวอยู่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_38.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา เส้นทึบ สมบัติคอลิเกทีฟ จุดเยือกแข็งเส้นสีน้ำเงิน • การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด จุดเดือดเส้นสีแดง ภาพกราฟแสดงลักษณะที่ลดลงของจุดเยือกแข็งและการเพิ่มขึ้นของจุดเดือด กราฟแสดงลักษณะที่ลดลงของจุดเยือกแข็งและการเพิ่มขึ้นของจุดเดือด เนื่องมาจากอนุภาคของตัวถูกละลายที่ขัดขวางการจัดตัวหรือการเคลื่อนย้ายของโมเลกุล สำหรับการเปลี่ยนแปลงสถานะ ความสัมพันธ์ที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ ความสัมพันธ์ที่โมเลกุลจะเปลี่ยนสถานะ เมื่อสารละลายแข็งตัวโมเลกุลของตัวทำละลายเท่านั้นที่จะจับตัวกันกลายเป็นของแข็งและจะแยกออกตัวจากตัวถูกละลาย ขณะที่โมเลกุลของตัวถูกละลายยังอยู่ในสารละลาย โดยจะมีความเข้มข้นสูงขึ้น ดังนั้น อุณหภูมิต้องลดลง เพื่อทำให้ตัวทำละลายทั้งหมดแข็งตัวเป็นเหตุให้จุดเยือกแข็งลดลง • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงกราฟ • ทำเส้นหนึ่งเอทีเอ็มเด่นขึ้นมา • เส้นปะสีแดงทำเป็นสีแดงที่เป็นของสารละลาย จะพบว่าจุดเยือกแข็งต่ำลง • กรณีที่เส้นมีจุดเดือดสูงขึ้นกว่าตัวทำละลายที่บริสุทธิ์ให้เป็นเส้นทึบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_39.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด • การเพิ่มขึ้นของจุดเดือดและการลดลงของจุดเยือกแข็งเป็นสัดส่วนโดยตรงต่อจำนวนของอนุภาคตัวถูกละลาย + - 100องศาเซลเซียส การลดจุดเยือกแข็ง ตัวอย่าง 1 โมแลลต์ของสารละลายที่ไม่แตกตัว ในน้ำเดือดที่ 100.59องศาเซลเซียส และจุดเยือกแข็งที่ -1.86องศาเซลเซียส เปรียบเทียบ 100องศาเซลเซียส และ 0 องศาเซลเซียส สำหรับน้ำบริสุทธิ์ ทั้งการเพิ่มจุดเดือดและการลดจุดเยือกแข็งเป็นสัดส่วนโดยตรงต่อจำนวนของอนุภาคตัวถูกละลาย • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_40.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง Tf- Tf0 = ΔTf + การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิกับจุดเดือด - ΔTb = kbm การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด เมื่อ ΔTbคือ การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด ΔTf kb คือ ค่าคงที่ของจุดเยือกแข็งที่ลดลงในหน่วยโมแลลต์และขึ้นกับชนิด ของตัวทำละลายหนึ่งๆ คลิก ΔTfเพื่อดูเพิ่มเติม m คือ โมแลลิตี้ เมื่อเดลต้าทีบีคือ การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด คำนวณได้หากทราบ ความเข้มข้นของสารละลายในหน่วย โมแลลต์ เคบีหรือที่เรียกว่าค่าคงที่ของจุดเดือดที่สูงขึ้นในหน่วยโมแลล์สำหรับตัวทำละลาย จะขึ้นกับสมบัติทางกายภาพของตัวทำละลายหนึ่งๆเท่านั้น เป็นค่าเฉพาะตัวของแต่ละสาร จะเป็นค่าที่กำหนดให้เสมอ • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่และแสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป Tf = อุณหภูมิที่สารละลายจุดเดือด Tf 0= อุณหภูมิตัวทำละลายจุดเดือด
File :sc121_08_41.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด • จุดเดือดของเบนซีนบริสุทธิ์ จะเดือดที่ 80.2 องศาเซลเซียส (Tb0) • ดังนั้นหากมีสารละลายของเบนซีนที่ความเข้มข้น 1 โมแลลต์ • ∆Tb = 2.61 องศาเซลเซียส • ∆Tb0 =Tb = Tb0 + ∆Tb • = 82.8 องศาเซลเซียส • ∆Tb0= 80.2 องศาเซลเซียส จุดเดือดปก 80.2 องศาเซลเซียส + - การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด kbของเบนซิน คลิก Kbของเบนซินเพื่อดูเพิ่มเติม เช่น เบนซิน มีค่าคงที่จุดเดือดที่สูงขึ้นในหน่วยโมแลล์เท่ากับ 2.61 องศาเซลเซียสต่อโมล จุดเดือดของเบนซีนบริสุทธิ์ จะเดือดที่ 80.2 องศาเซลเซียส ดังนั้นหากมีสารละลายของเบนซีนที่ความเข้มข้น 1 โมแลลต์ จะได้ว่าสารละลายจะเดือดที่ 80.2 องศาเซลเซียส บวกด้วย 2.61 องศาเซลเซียส เท่ากับ 82.8 องศาเซลเซียส • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่และแสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง เบนซิน มีค่าคงที่จุดเดือดที่สูงขึ้นในหน่วยโมแลล์เท่ากับ 2.61 องศาเซลเซียสต่อโมล
File :sc121_08_42.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • แรงดันออสโมติก (Osmotic Pressure , ) Thistle tube • การออสโมซิส เยื่อเลือกผ่านจะแยกตัวทำละลายบริสุทธิ์และสารละลาย • โมเลกุลของตัวทำละลายจะแทรกตัวผ่านเยื่อเข้าไปในสารละลายเป็นผลให้ปริมาตรของสารละลายเพิ่มขึ้น ในขณะที่ความเข้มข้นจะถูกเจือจางลง แอลกฮอลก์(Alcohol ) และน้ำ( H2O) กระเพาะหมู(Pig’s bladder) ภาพตัวอย่างการออสโมซิส แรงดันออสโมติกมีความสำคัญต่อคุณสมบัติคอลลิเกทีฟ โดยเฉพาะใช้ในการแพทย์และสาธารณสุข ซึ่งแพทย์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Jean Nollet ได้ค้นพบปรากฏการณ์นี้ในปี ค.ศ. 1784 เขาได้ทำการเติมสารละลายแอลกอฮอล์ผสมกับน้ำลงในถุง เมื่อเขาจุ่มถุงนี้ลงไปในน้ำบริสุทธิ์พบว่าปริมาณของสารละลายเพิ่มขึ้น เนื่องจากน้ำได้แพร่เขาไปในถุงโดยผ่านผนังของถุง ตัวทำละลายบริสุทธิ์จะแพร่ผ่านเยื่อเข้าสู่สารละลาย เรียกกระบวนการนี้ว่า “ออสโมซิส” และเรียกแรงที่ทำให้เกิดกระบวนการออสโมซิสนี้ว่า “แรงดันออสโมติก” ถ้าพูดได้ชัดกว่านี้ แรงดันออสโมติก คือแรงดันที่จะป้องกันการแพร่ของตัวทำละลายที่เข้ามาในเยื่อเลือกผ่าน • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่และแสดงข้อความลำดับที่ โดยมีการเคลื่อนไหวดังนี้ มีรูปโมเลกุลผ่านเข้าไปในถุง ซึ่งแสดงเป็นของเหลวที่มีความเข้มข้นมากกว่าน้ำภายนอก • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_43.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมบัติคอลิเกทีฟ • แรงดันออสโมติก (Osmotic Pressure , ) แผ่นเยื่อบางๆ • ออสโมซิส (Osmosis) คือ การเคลื่อนย้ายของตัวทำละลายในสารละลายแผ่นเยื่อบางๆ เพื่อที่จะเจือจางสารละลายนั้นๆ • ความดันที่เกิดขึ้นสามารถถูกวัดได้ เรียกว่า แรงดันออสโมติก (Osmotic Pressure, ) = nRT = MRT V ภาพแสดงแรงดันออสโมติก (Osmotic Pressure , ) สารละลาย A มีความเข้มข้นมากกว่าสารละลาย B R = 0.0821 L atm / mol K คลิกตัวอย่างเพื่อดูเพิ่มเติม • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่และแสดงข้อความลำดับที่ โดยมีการเคลื่อนไหวดังนี้ • น้ำค่อยๆไหลผ่านแผ่นเยื่อบางๆ จากเอไปสู่บี โดยเอมีความเข้มข้นสูงกว่าบี • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป แรงดันออสโมติก คือ การเคลื่อนย้ายของตัวทำละลายในสารละลายผ่านเยื่อหุ้มล้อมรอบเซลล์ หรือเรียกว่าเมมเบรนเพื่อที่จะเจือจางสารละลายนั้นๆ โดยสามารถวัดความดันที่เกิดขึ้นเรียกว่าแรงดันออสโมติก แทนด้วย พาย การคำนวณสามารถอาศัยสูตรของแก๊สในอุดมคติหรือที่เรียกว่า The ideal gas equation จากสมการจะเห็นว่าหากโมลาร์สูงขึ้นค่าแรงดันออสโมติกก็จะสูงขึ้นด้วย วัดความดันนี้ได้
File :sc121_08_44.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา คุณสมบัติคอลิเกทีฟของสารละลายที่แตกตัวได้ • สารละลายอิเล็กโทรไลต์ สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolytes) • สารไอออนิกและสารโควาเลนต์ • Ionic substances have a greater effect per mole than covalent • จำนวนอนุภาคของสารละลายอิเล็กโทรไลต์มากขึ้นตาม • จำนวนในอนุภาคของประจุของสารนั้นๆ ตัวอย่าง คลิกตัวอย่างเพื่อดูเพิ่มเติม ที่ผ่านมาเราได้เห็นการแสดงคุณสมบัติคอลิเกทีฟของสารละลายที่ไม่แตกตัว เนื่องจากเป็นโมเลกุลของสารซึ่งมีพันธะโควาเลนท์ในโมเลกุล ต่อไปเราจะดูคุณสมบัตินี้กับสารละลายที่แตกตัวได้ เนื่องจากโมเลกุลจับตัวกันด้วยพันธะแบบไอออนิกจึงแตกตัวในน้ำเป็นไอออน เรียกว่า สารละลายอิเล็กโทรไลต์ ทำให้จำนวนอนุภาคของสารละลายอิเล็กโทรไลต์มากขึ้นตามจำนวนในอนุภาคของประจุของสารนั้นๆ สมบัติของคอลลิเกทีฟของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ เราอาจคาดเดาว่าการลดจุดเยือกแข็งของสารละลาย โซเดียมคลอไรด์เข้มข้น 0.1 โมล และสารละลายซูโครส เข้มข้น 0.1 โมลควรมีค่าเท่ากันแต่ในทางปฏิบัติไม่ใช่จะเป็นไปตามสสารในการแตกตัวเป็นไอออนของสสารนั้นๆ เช่น แคลเซียมคลอไรด์แตกตัวเป็นสามอนุภาคของ หนึ่งแคลเซียมประจุบวก และ สองคลอไรด์ประจุลบ • แสดงภาพเคลื่อนไหวโดยให้มีการเคลื่อนไหวดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงปุ่มตัวอย่างเมื่อคลิกปรากฏสไลด์ถัดไปทำเป็นป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc121_08_45.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา คุณสมบัติคอลิเกทีฟของสารละลายที่แตกตัวได้ • สารละลายอิเล็กโทรไลต์ คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง มวลของ ตัวถูกละลาย (solute) มวลของ ตัวถูกละลาย (solute) + + 10 โมล 10 โมล • สารละลายโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl) แต่จากการทดลองพบว่า สารละลายโซเดียมคลอไรด์มีการลดลงของจุดเยือกแข็งเป็น 2 เท่าของสารละลายซูโครส • การนำเสนอนำเสนอดังภาพที่แสดง - - • สารละลายอิเล็กโทรไลต์ สารละลายซูโครส • สารละลายโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl)แต่ละหน่วยทำให้เกิดอนุภาคในสารละลาย 2 อนุภาค คือ Na+และ Cl- สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายโซเดียมคลอไรด์และของสารละลายอิเล็กโทรไลตอื่นๆ จะไม่เหมือนกับของสารละลายนอนอิเล็กโทรไลด์ หรือสารละลายที่ไม่แตกตัว ความแตกต่างเกิดขึ้น เนื่องจากสารอิเล็กโทรไลด์แตกตัวเป็นไอออนในสารละลาย ซึ่งมีผลทำให้จำนวนอนุภาคในสารละลายมีมากขึ้นและเนื่องจาก สารละลายโซเดียมคลอไรด์แต่ละโมเลกุลทำให้เกิดอนุภาคในสารละลาย 2 อนุภาค คือ โซเดียมบวกและ คลอไรด์ลบ • การนำเสนอนำเสนอดังภาพที่แสดง • สารละลายอิเล็กโทรไลต์ • แคลเซียมคลอไรด์เมื่อแตกตัวในน้ำ จะทำให้ได้ถึง 3 อนุภาค • ได้แก่ ไอออนบวกของแคลเซียมและ 2 ไอออนลบของคลอไรด์ สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายจึงมีค่าเป็น สามเท่าของสมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายที่ไม่ใช่สารละลายอิเล็กโทรไลด์ ดังตัวอย่าง แคลเซียมคลอไรด์เมื่อแตกตัวในน้ำ จะทำให้ได้ถึง 3 อนุภาค ได้แก่ ไอออนบวกของแคลเซียมและ 2 ไอออนลบของคลอไรด์ • การนำเสนอนำเสนอดังภาพที่แสดง • เมื่อคลิก Close ปรากฏสไลด์File :sc121_08_44.swf
File :sc121_08_46.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา คุณสมบัติคอลิเกทีฟของสารละลายที่แตกตัวได้ • Van't Hoff factor ΔTb = ikbm ΔTf = -ikfm = iMRT ตัวอย่างที่ 1 ตัวอย่างที่ 2 คลิกตัวอย่างเพื่อศึกษาเพิ่มเติม ดังนั้นการคำนวณสมบัติคอลิเกทีฟของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ จึงมีตัวแปรเพิ่มขึ้นมานั้นคือ ตัวแปรของวานท์ฮอฟ โดยมีค่าเท่ากับไอออนที่แตกตัวออกมาเป็นอนุภาคของไอออนทั้งหมดสำหรับโมเลกุลหนึ่งๆ ในที่นี้แทนค่าด้วย ไอ ในสมการต่างๆ ได้เลย • การนำเสนอทำข้อความแต่ละอันเป็นสีน้ำเงิน เขียว ม่วง ทำตัวไอเป็นสีแดงกระพริบกระพริบ • เมื่อคลิกป๊อบอัพตัวอย่างจะปรากฏสไลด์ตัวอย่างการคำนวณขึ้นมาดังสไลด์ถัดไป • เมื่อคลิกตัวอย่างที่ 1 ปรากฏ File : sc121_08_47.swf • เมื่อคลิกตัวอย่างที่ 2 ปรากฏ File : sc121_08_48.swf • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์File : sc121_08_49.swf
File :sc121_08_47.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา คุณสมบัติคอลิเกทีฟของสารละลายที่แตกตัวได้ คลิกปิดเพื่อปิดหน้าต่าง ตัวอย่าง จงคำนวณหาจุดเยือกแข็งของสารละลาย 0.2m KNO3และ Cr(NO3)3[kf(water) = 1.86 (C/m)] วิธีทำ 1โมลของ KNO3 แตกตัวเป็น 2 โมลของอิออน ดังนี้ KNO3(s) k+(aq) + NO3-(aq) i = 2 ΔTf = i kfm = 2 x 1.86 C/m x 0.2 m = 0.74 C 1โมลของ Cr(NO3) 3 แตกตัวเป็น 4 โมลของอิออน Cr(NO3)3(s) Cr3+(aq) + 3NO3-(aq) i = 4 ΔTf = i kfm = 4 x 1.86 C/m x 0.2m = 1.5 C ดังนั้นจุดเยือกแข็งของสารละลายแต่ละชนิด คือ 0.2m KNO3 = 0 - 0.74 = 0.74oC 0.2m Cr(NO3) 3 = 0 – 1.5 = -1.5oC • จากตัวอย่างโพแทสเซียมไนเตรตสามารถแตกตัวในน้ำได้เป็นโพแทสเซียมไอออนบวกและไนเตรตลบ ทำให้มีค่าตัวแปรของวานท์ฮอฟเท่ากับสอง ขณะที่โครเมียมไนเตรตจะแตกตัวเป็นไอออนได้สี่ตัวได้แก่ โครเมียมบวกสาม หนึ่งไอออนและไนเตรตลบสามไอออนแทนค่าลงในสมการดังค่าตัวแปรของวานท์ฮอฟเท่ากับสี่ ทำให้ได้คำตอบว่ามีจุดเยือกแข็งของสารละลายศูนย์จุดสองโมแลลต์ของโพแทสเซียมไนเตรตเท่ากับศูนย์จุดเจ็ดสี่องศาเซลเซียลและค่าศูนย์จุดสองโมแลลต์ของโครเมียมไนเตรตเท่ากับลบหนึ่งจุดห้าองศาเซลเซียส • ทำเป็นป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Close ปรากฏสไลด์File : File : sc121_08_46.swf