210 likes | 331 Views
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดเชียงใหม่. การดำเนินการของจังหวัด. 1. คัดเลือกอำเภอเป้าหมาย และอำเภอข้างเคียง อ.จอมทอง (เป้าหมาย) - รพ.สต.วังน้ำหยาด ต.แม่สอย รพ.สต.บ้านหนองห่าย ต.ข่วงเปา อ.ดอยหล่อ (ข้างเคียง) - รพ.สต.ดอนชัย ต.ยางคราม
E N D
การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนจังหวัดเชียงใหม่การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนจังหวัดเชียงใหม่
การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 1. คัดเลือกอำเภอเป้าหมาย และอำเภอข้างเคียง • อ.จอมทอง (เป้าหมาย) - รพ.สต.วังน้ำหยาด ต.แม่สอย รพ.สต.บ้านหนองห่าย ต.ข่วงเปา • อ.ดอยหล่อ (ข้างเคียง) - รพ.สต.ดอนชัย ต.ยางคราม รพ.สต.ห้วยเปายง ต.ดอยหล่อ • อ.สันทราย (นำร่อง) * ทั้ง 3 แห่งได้รับการประเมินจาก สคร.10
การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 2. จัดอบรม SRRT ตำบล 52 ตำบล ๆ ละ 5 คน เดือน มกราคม 2554 แบ่งจัด 3 สาย สายเหนือ สายกลาง สายใต้ (หลักสูตรสำนักระบาด 1 วัน)
การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 3. ประชุมชี้แจงโครงการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน กุมภาพันธ์ 2554 ให้กับเครือข่าย SRRT อำเภอ
การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 4. ประชุมเครือข่าย SRRT ปี 2554 จำนวน 3 ครั้ง เพื่อพัฒนาศักยภาพทีม SRRT อำเภอ และเกิดระบบระบาดวิทยาที่ดี
การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 5. นิเทศ ประเมิน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง และมาตรฐาน SRRT มาตรฐาน SRRT ปี 2552 ประเมิน 6 แห่ง ผ่าน 2 แห่ง ไม่ผ่าน 4 แห่ง ปี 2553 ประเมิน 7 แห่ง ผ่าน 3 แห่ง ไม่ผ่าน 4 แห่ง ปี 2554 ประเมิน 5 แห่ง ผ่าน 2 แห่ง ไม่ผ่าน 3 แห่ง อำเภอเข้มแข็ง 7 แห่ง ผ่าน 4 แห่ง (อ.จอมทอง, อ.ดอยหล่อ, อ.สันทราย และ อ.แม่ออน) ไม่ผ่าน 3 แห่ง (อ.ดอยเต่า, อ.แม่แจ่ม และ อ.ดอยสะเก็ด)
การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 6. ชี้แจงงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ให้ผู้บริหารในการประชุม กวป. 3 ครั้ง
ผลการประเมิน คุณลักษณะ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง จ.เชียงใหม่
ผลการประเมิน คุณลักษณะ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง จ.เชียงใหม่
วิเคราะห์การดำเนินงานคุณลักษณะที่ 1 (ผ่านร้อยละ 56): มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ • ข้อที่ผ่านน้อยที่สุด ได้แก่ • มีรายงานคณะกรรมการอย่างน้อย 4 ครั้ง • มีการติดตามผลอย่างน้อย 4 ครั้ง • รองลงมาได้แก่ • มีรายงานวิเคราะห์สถานการณ์ กำหนดแนวทางแก้ไข และมอบหมายผู้รับผิดชอบดำเนินการอย่างน้อย 4 ครั้ง • มีรายงานวิเคราะห์สถานการณ์ อย่างน้อย 4 ครั้ง * เนื่องจากโครงการเริ่มดำเนินการช้า คณะกรรมการยังไม่เข้าใจชัดเจนในแนวคิด บางอำเภอใช้ประชุมหัวหน้าส่วนแทน
วิเคราะห์การดำเนินงานคุณลักษณะที่ 2 (ผ่านร้อยละ 92): มีระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี • ข้อที่ผ่านน้อยที่สุด ได้แก่ • ห้อง Lab โรงพยาบาลสามารถเพาะเชื้อแบคทีเรียจากอุจจาระ • ห้อง Lab แจ้งเหตุสงสัยโรคระบาดหรือความผิดปกติให้ SRRT อย่างน้อยปีละ 1 เหตุการณ์ • รองลงมาได้แก่ • SRRT ตำบลได้การตรวจสอบหรือแจ้งเหตุสงสัยการระบาดอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • SRRT ตำบล อย่างน้อยร้อยละ 50 ได้รับงบประมาณ ยานพาหนะ หรือ สิ่งสนับสนุน
วิเคราะห์การดำเนินงานคุณลักษณะที่ 3 (ผ่านร้อยละ 72): มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ • ข้อที่ผ่านน้อยที่สุด ได้แก่ • มีรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผน เพื่อติดตาม กำกับ อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี • มีการซ้อมแผนรับการควบคุมโรค/ภัยฉุกเฉิน ทางด้านสาธารณสุข อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • รองลงมาได้แก่ • มีแผนปฏิบัติการรองรับการควบคุมโรค/ภัยฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข * ความเข้าใจ รูปแบบ การจัดทำแผนแต่ละอย่างว่าเป็นอย่างไร แตกต่างกันอย่างไร - แผนป้องกันควบคุมโรคที่เป็นปัญหา/นโยบาย - แผนรองรับการควบคุมโรคและภัยฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข
วิเคราะห์การดำเนินงานคุณลักษณะที่ 4 (ผ่านร้อยละ 80): มีการระดมทรัพยากร หรือการสนับสนุนงบประมาณ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม • ข้อที่ผ่านน้อยที่สุด ได้แก่ • หน่วยงานอื่น เช่น องค์กรเอกชน วัด ประชาชน จัดสรรทรัพยากร/งบประมาณ • รองลงมาได้แก่ • มีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรสำหรับการป้องกันควบคุมโรคที่สามารถตรวจสอบได้ เช่น ระบบบัญชี การเงิน ระบบการรับจ่ายวัสดุ ครุภัณฑ์
วิเคราะห์การดำเนินงานคุณลักษณะที่ 5 (ผ่านร้อยละ 40): มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคตามนโยบายกระทรวง สาธารณสุข และปัญหาโรคในพื้นที่ อย่างละ 1 เรื่อง • โรคนโยบาย • ส่วนใหญ่เลือกโรคไข้เลือดออก รองลงมาเลือกโรควัณโรค และโรคเอดส์ • บางอำเภอเลือกโรคไข้หวัดใหญ่ ซึ่งไม่ได้เป็นโรคที่กำหนด • โรคปัญหาในพื้นที่ • ส่วนใหญ่เลือกโรคไข้เลือดออก บางแห่งเลือกซ้ำ รองลงมาเลือกโรควัณโรค อาหารเป็นพิษ/อุจจาระร่วง เอดส์ มาลาเรีย • บางแห่งเลือกโรคที่กระทรวงไม่ได้กำหนดตัวชี้วัด เช่น Strep Suis ความดันโลหิตสูง * บางอำเภอมีปัญหาไม่คีย์คะแนน และไม่เขียนอธิบาย * คะแนนรวม 5 คะแนน แบ่งย่อยเป็น 1, 1.5 อำเภอ ที่ประเมินตนเองต่ำ เช่น 0.5, 0.25 จะรวมได้ ไม่ถึง 4 (80%)
ปัญหา อุปสรรค 1. สสอ.ซึ่งควรจะเป็นแกนหลักในการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ยังไม่ได้ให้ความสำคัญเท่าที่ควร และไม่ได้มีการอัดฉีดงบประมาณลงไปที่ สสอ. 2. ในการประชุมคณะกรรมการฯ เป็นการระดมความคิดเห็น/การมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสุขภาพจากทุกภาคส่วน ซึ่งแตกต่างจากการประชุมหัวหน้าส่วนทั่วไป 3. ปัญหารูปแบบ วิธีการจัดทำ แผนของพื้นที่ ควรเป็นแบบใด ควรสามารถปฏิบัติได้จริง ส่วนการประเมินผล ติดตามและรายงาน ทำอย่างไรจะไม่ให้เป็นภาระต่อผู้ปฏิบัติมากเกินไป
ปัญหา อุปสรรค (ต่อ) 4. การรายงานโรค/เหตุการณ์การระบาดโดย SRRT ตำบล หรือรพ.สต. ผ่านอินเตอร์เน็ตมีน้อย อาจเป็นเพราะไม่มีเหตุการณ์ผิดปกติ ที่ตรวจจับได้ที่ตำบล หรือไม่คุ้นชินกับการรายงานจากตำบลไปสู่ส่วนกลางโดยตรง ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 5. โรคปัญหาในพื้นที่ที่อำเภอเลือก และกระทรวงไม่ได้กำหนดตัวชี้วัดเป็นปัญหาในการให้คะแนน 6. การอบรม SRRT ตำบล ให้ครบทุกตำบลยังทำไม่ได้ เนื่องจากเชียงใหม่ให้อำเภอดำเนินการเอง โดยใช้งบประมาณของพื้นที่ จึงมีบางอำเภอที่ดำเนินการต่อได้ (จอมทอง ดอยหล่อ แม่ออน เมือง แม่แตง หางดง ฝาง สันกำแพง)
ข้อเสนอแนะ 1. การคีย์ข้อมูลประเมินตนเอง ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ดี ง่าย สะดวก รวดเร็ว อาจมี Bais บ้าง ควรเริ่มรอบ 1 ให้เร็ว และควรมีการสุ่มประเมินบางอำเภอ 2. ควรจัดสรรงบประมาณให้ สสอ. ทุกแห่งในการบริหารจัดการขับเคลื่อนโครงการ และการอบรมเครือข่าย SRRT ตำบล ให้ครอบคลุมทุกตำบล/หมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ (ต่อ) 3. ควรมีรูปแบบการจัดทำแผน ทั้งแผนป้องกันควบคุมโรคที่เป็นปัญหา/นโยบาย และแผนรองรับการควบคุมโรค และภัยฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข 4. ให้ สคร. หรือจังหวัดคิดเกณฑ์/ตัวชี้วัด โรคที่กระทรวงไม่ได้กำหนด 5. ควรเพิ่มคะแนนตัวชี้วัดความสำเร็จให้มากขึ้น
การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2555 1. “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เป็นตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2555 ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ที่ทำกับ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ 2. จัดตั้งคณะทำงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งของจังหวัด ประกอบด้วย หน่วยงานภายใน สสอ. และหน่วยงานภายนอก ได้แก่ อบจ. ตัวแทน สมัชชาสุขภาพภาคประชาชน
การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2555 (ต่อ) 3. ติดตามการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ในทุกอำเภอ โดยแบ่งชุดคณะทำงานเป็น 3 ทีม 4. ประชุมชี้แจงเครือข่าย ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคในปี 2554 และแนวทางปี 2555 5. ส่งเสริมการดำเนินงานในระดับตำบล/หมู่บ้าน การเฝ้าระวังโรค การตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติ เน้น อสม.เชี่ยวชาญด้านการเฝ้าระวังโรค สอบสวนควบคุมโรค