500 likes | 831 Views
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ S trategic P erformance B ased B udgeting S ystem. พ.ท.สิทธิพัฒน์ พงศ์สุวรรณ. การศึกษา - รร.ตท. รุ่น 33 - รร.จปร.รุ่น 44 - ชั้นนายร้อย รุ่นที่ 3 5 - ชั้นนายพัน รุ่นที่ 36
E N D
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ Strategic Performance Based BudgetingSystem
พ.ท.สิทธิพัฒน์ พงศ์สุวรรณ การศึกษา - รร.ตท. รุ่น 33 - รร.จปร.รุ่น 44 - ชั้นนายร้อย รุ่นที่ 35 - ชั้นนายพัน รุ่นที่ 36 - รร.สธ.ทบ. ชุดที่ 85
โครงสร้างงบประมาณ 2553ของสำนักงบประมาณ • ยุทธศาสตร์ • แผนงบประมาณ • ผลผลิต • กิจกรรม • งบรายจ่าย
กองทัพบก-ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ 2553 • ยุทธศาสตร์ที่ 1การสร้างความเชื่อมั่นและการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ • 2. ยุทธศาสตร์ที่ 2 การรักษาความมั่นคงของรัฐ • 3. ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความเชื่อมั่นและการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ แผนงาน เสริมสร้างความสมานฉันท์ความสามัคคีของคนในชาติและปฏิรูปการเมือง ผลผลิต การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย กิจกรรม โครงการรณรงค์เสริมสร้างความรักความสามัคคีของคนในชาติ โครงการรณรงค์เสริมสร้างความรักชาติ แผนงาน แก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
กิจกรรม การจัดตั้งกองพลพัฒนาและพิทักษ์ทรัพยากร โครงการจัดตั้งกองพลพัฒนาและพิทักษ์ทรัพยากร กิจกรรม การสนับสนุนหน่วยในการปฏิบัติภารกิจในพื้นที่ 3 จชต. โครงการจัดหายุทโธปกรณ์สนับสนุนหน่วยในการปฏิบัติภารกิจใน 3จชต.
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การรักษาความมั่นคงของรัฐ แผนงาน รักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ผลผลิต การถวายความปลอดภัย การถวายพระเกียรติ และปฏิบัติตามพระราชประสงค์ กิจกรรม การจัดกำลังถวายความปลอดภัยและถวายพระเกียรติกลุ่มงบงานถวายความปลอดภัยและ รปภ.บุคคล กิจกรรม การพัฒนาระบบถวายความปลอดภัยและถวายพระเกียรติ โครงการพัฒนาระบบถวายความปลอดภัย ผลผลิต การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
กิจกรรม การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ กลุ่มงบงานการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ แผนงาน เสริมสร้างระบบป้องกันประเทศ ผลผลิต การเตรียมกำลังและการใช้กำลังในการป้องกันประเทศ และการรักษาความมั่นคงภายใน โดยกำลังกองทัพบก กิจกรรม การบริหารและการบริการกำลังพล กลุ่มงบงานกำลังพลและกำลังสำรอง กลุ่มงบงานบริการและสวัสดิการ กิจกรรม การข่าว กลุ่มงบงานการข่าว
กิจกรรม การฝึก ศึกษา และวิจัยกลุ่มงบงานการด้านยุทธการ การฝึก และวิจัย กลุ่มงบงานการศึกษา กิจกรรม การส่งกำลังบำรุง กลุ่มงบงานส่งกำลังและซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ กลุ่มงบงานโครงการเสริมสร้างหน่วยและยุทโธปกรณ์ กิจกรรม การกิจการพลเรือน กลุ่มงบงานกิจการพลเรือน กิจกรรม การบริหารทั่วไป กลุ่มงบงานการบริหารงานและบริหารหน่วย
กิจกรรม การเสริมสร้างความสมบูรณ์ของหน่วยกลุ่มงบงานซ่อมแซมอาคาร สิ่งปลูกสร้างและการที่ดิน กลุ่มงบงานโครงการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้าง กิจกรรม การป้องกันประเทศ กลุ่มงบงานตามข้อผูกพันพิเศษ กิจกรรม การเตรียมความพร้อมด้านกำลังสำรอง โครงการพัฒนาระบบกำลังสำรอง กิจกรรม การบริการรักษาพยาบาล กลุ่มงบงานการแพทย์
กิจกรรม การจัดระเบียบพื้นที่ชายแดนโครงการจัดระบบป้องกันเพื่อจัดระเบียบหมู่บ้านตามแนวชายแดน โครงการประสานงานพื้นที่ชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน โครงการยุทธศาสตร์ความมั่นคงตามแนวชายแดน กิจกรรม การป้องกันการบุกรุกและทำลายพื้นที่ป่าไม้ โครงการป้องกันการบุกรุกและทำลายพื้นที่ป่าไม้ กิจกรรม การคุ้มครองรักษาผลประโยชน์ของชาติพื้นที่ชายแดน โครงการคุ้มครองรักษาผลประโยชน์ของชาติพื้นที่ชายแดน กิจกรรม การป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ กลุ่มงบงานการแก้ไขปัญหาเอดส์
กิจกรรม การพัฒนาระบบบริหารราชการกลุ่มงบงานการพัฒนาระบบราชการ ผลผลิต การสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ กิจกรรม การปฏิบัติภารกิจของสำนักงานผู้ช่วยทูตทหารไทยในต่างประเทศ กลุ่มงบงาน สน.ผชท.ทหาร ไทย/ต่างประเทศ กิจกรรม การสร้างความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ กลุ่มงบงานความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ผลผลิต การพัฒนาโครงการสร้างพื้นฐานและการช่วยเหลือประชาชน กิจกรรม การสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กลุ่มงบงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรม การเตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือป้องกันบรรเทา สาธารณภัยและภัยพิบัติ โครงการจัดหายุทโธปกรณ์บรรเทาสาธารณภัย กิจกรรม การส่งเสริมการท่องเที่ยวในหน่วยทหาร โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวในหน่วยทหาร
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต แผนงาน ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ผลผลิต การแก้ไขปัญหายาเสพติด กิจกรรม การป้องกันยาเสพติด กลุ่มงบงานการป้องกันยาเสพติด กิจกรรม การปราบปรามยาเสพติด กลุ่มงบงานการปรามปรามยาเสพติด กิจกรรม การบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กลุ่มงบงานการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
รธน. 40 มาตรา 75 “ รัฐต้องดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย คุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพของบุคคล จัดระบบงานของ กระบวนการยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพและอำนวย ความยุติธรรมแก่ประชาชนอย่างรวดเร็วและ เท่าเทียมกัน รวมทั้งจัดระบบงานราชการ และงาน ของรัฐอย่างอื่นให้มีประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนอง ความต้องการของประชาชน”
(มติ ค.ร.ม. 11 พ.ค.42 ค.ก.ก.ปฏิรูประบบราชการ) แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ • การปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจ และวิธีการบริหารงานของภาครัฐ • การปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ การเงินและการพัสดุ • การปรับเปลี่ยนระบบบริหารงานบุคคล • การปรับเปลี่ยนกฎหมาย • การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม และค่านิยม
ระบบงบประมาณแบบใหม่ ให้ความสำคัญในเรื่อง • ผลผลิตผลลัพธ์ (Outputs and Outcomes) • ความรับผิดชอบความโปร่งใสและการรายงาน • การมอบอำนาจการจัดทำและบริหารงบประมาณ • การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ • การจัดทำแผนงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง
ระบบเก่า การจัดทำงบประมาณ -ขาดความเชื่อมโยงของการวางแผนงบประมาณกับนโยบายรัฐบาลและกระทรวง ระบบใหม่ -นำนโยบายรัฐบาลและกระทรวงมากำหนดแผนกลยุทธ์แผนปฏิบัติการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณโดยรัฐมนตรีเป็นผู้รับผิดชอบ เปรียบเทียบระบบงบประมาณระบบเก่า กับระบบใหม่
เปรียบเทียบระบบงบประมาณระบบเก่าเปรียบเทียบระบบงบประมาณระบบเก่า กับระบบใหม่ ระบบใหม่ -จัดทำแผนงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF) ที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและแผนพัฒนาประเทศ -เพิ่มความครอบคลุมของงบประมาณ (Budget Coverage) ระบบเก่า -ขาดการจัดทำแผนงบประมาณที่แสดงภาระงบประมาณในอนาคตทำให้ไม่ทราบทิศทางและภาระงบประมาณ -ขาดความครอบคลุมงบประมาณที่แสดงภาพรวมฐานะการคลัง
เปรียบเทียบระบบงบประมาณระบบเก่าเปรียบเทียบระบบงบประมาณระบบเก่า กับระบบใหม่ ระบบเก่าระบบใหม่ • มุ่งเน้นทรัพยากรที่ใช้ไป(Inputs) มากกว่าผลผลิตผลลัพธ์(Outputs Outcomes) - การจัดทำงบประมาณมีลักษณะเป็นการจัดทำจากส่วนกลาง(Top Down) • มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ และมีการกำหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจน - มอบอำนาจและการกระจายอำนาจการจัดทำงบประมาณให้หน่วยงานปฏิบัติ
การบริหารงบประมาณ -เน้นการควบคุมการจัดสรรและการเบิกจ่ายงบประมาณอย่างเข้มงวด มอบอำนาจและกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณให้หน่วยงานโดยรับผิดชอบต่อผลผลิตผลลัพธ์ที่กำหนด ระบบเก่าระบบใหม่ เปรียบเทียบระบบงบประมาณระบบเก่า กับระบบใหม่
เปรียบเทียบระบบงบประมาณระบบเก่าเปรียบเทียบระบบงบประมาณระบบเก่า กับระบบใหม่ -ขาดระบบการตรวจสอบ ติดตามประเมินผลและการรายงานผลที่ชัดเจนและโปร่งใส - มีการติดตามประเมินผล วัดผล เพื่อให้ได้ผลผลิตผลลัพธ์อย่างชัดเจน - ระบบบัญชีแบบเกณฑ์ เงินสดไม่สามารถใช้ เป็นเครื่องมือในการบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ - นำระบบบัญชีตามเกณฑ์ คงค้างมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารและควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณ ระบบเก่าระบบใหม่
- กำหนดขอบเขตการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ที่กระทบต่อผลผลิตและผลลัพธ์ต้องได้รับอนุมัติจากผู้รับผิดชอบตามระดับความรับผิดชอบ -กำหนดขอบเขตการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณไม่ชัดเจน ระบบเก่าระบบใหม่ เปรียบเทียบระบบงบประมาณเก่า กับระบบใหม่
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ เป็นวิธีการที่เป็นระบบ - ในการเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากร - เพื่อให้ได้ผลผลิต และผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน สิ่งสำคัญในการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน คือ การวัดผลการดำเนินงาน โดยการกำหนดหน่วยนับในการตรวจวัดและประเมินผล การดำเนินงาน จะต้องชัดเจนสมบูรณ์ สามารถนำมาใช้ ได้จริงและเหมาะสมกับเวลา
แนวคิดของระบบงบประมาณแนวคิดของระบบงบประมาณ • เกิดผลสำเร็จตามนโยบาย • มีความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล • มอบความความคล่องตัวในการจัดทำและบริหาร งบประมาณให้กับผู้ปฏิบัติ และผู้ปฏิบัติต้อง รับผิดชอบจากการนำงบประมาณไปใช้
การจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน เป็นการเพิ่มวินัยให้แก่กระบวนการงบประมาณ กล่าวคือ - เป็นการกระตุ้นในเรื่องประสิทธิผลของแผนงานว่าสามารถ • บรรลุผลลัพธ์ได้หรือไม่ • ปรับปรุงผลลัพธ์ได้อย่างไร - เป็นการกระตุ้นในเรื่องประสิทธิภาพของแผนงาน ว่าสามารถ • บรรลุผลลัพธ์โดยใช้จ่ายน้อยที่สุดหรือไม่ • ปรับปรุงผลลัพธ์โดยใช้ค่าใช้จ่ายเท่าเดิมหรือไม่ • ผลักดันงบประมาณจากแผนงาน ที่ไม่ประสบความสำเร็จในการดำเนินการ • ให้บรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ ไปสู่แผนงานที่สามารถดำเนินการให้บรรลุผลลัพธ์ที่ • ต้องการได้หรือไม่
หลักการของระบบงบประมาณหลักการของระบบงบประมาณ • เน้นผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) มากกว่า ปัจจัยนำเข้า ( Input ) • ผู้บริหารมีอิสระมากขึ้นในการบริหารการเงินควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อผลสำเร็จของงานตามข้อตกลงการทำงาน • รัฐหรือประชาชนได้รับผลประโยชน์จากความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงินของหน่วยงานภาครัฐ
กระบวนการงบประมาณ ประกอบด้วย3ภาค การจัดทำงบประมาณ การบริหารงบประมาณ การติดตามประเมินผล
มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7ประการ 1. การวางแผนงบประมาณ 5. การบริหารสินทรัพย์ 2. การคำนวณต้นทุนผลผลิต 6. การรายงานทางการเงิน และผลการดำเนินงาน 3. การจัดระบบการจัดซื้อ จัดจ้าง 7. การตรวจสอบภายใน 4. การบริหารทางการเงิน และควบคุมงบประมาณ
ความเชื่อมโยง มาตรฐานการจัดการทางการเงิน ระหว่าง กระบวนการงบประมาณ กับ กับ
กระบวนการงบประมาณ / มาตรฐานจัดการทางการเงิน 1. การวางแผนงบประมาณ 1. การจัดทำงบประมาณ 2. การคำนวณต้นทุนผลผลิต 3. การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง 4. การบริหารทางการเงิน และควบคุมงบประมาณ 2. การบริหารงบประมาณ 5. การบริหารสินทรัพย์ 6. การรายงานทางการเงิน และผลการดำเนินงาน 3. การติดตามประเมินผล 7. การตรวจสอบภายใน
1.การวางแผนงบประมาณ • จัดทำแผนกลยุทธ์และแปลงแผนกลยุทธ์เป็น แผนปฏิบัติงาน • จัดทำประมาณการรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF) เพื่อแสดงให้เห็นค่าใช้จ่ายในอนาคต • กำหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณ ภายในหน่วยงาน
ความรับผิดชอบต่อความสำเร็จตามเป้าหมายความรับผิดชอบต่อความสำเร็จตามเป้าหมาย ระดับชาติ แสดงความรับผิดชอบต่อความสำเร็จของ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ สาธารณชนเพื่อใช้ในการตรวจสอบ ติดตามผลงานของรัฐบาล เปิดเผยต่อ
ความรับผิดชอบต่อความสำเร็จตามเป้าหมายความรับผิดชอบต่อความสำเร็จตามเป้าหมาย ระดับกระทรวง รับผิดชอบต่อความสำเร็จของ เป้าหมายการให้การบริการสาธารณะ ข้อตกลงการให้บริการ สาธารณะ- PSA คณะรัฐมนตรี กับ รัฐมนตรีเจ้ากระทรวง ระหว่าง
ความรับผิดชอบต่อความสำเร็จตามเป้าหมายความรับผิดชอบต่อความสำเร็จตามเป้าหมาย ระดับส่วนราชการ มีหัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบต่อความสำเร็จของ ผลผลิต (Output) รัฐมนตรีเจ้ากระทรวง กับ หัวหน้าส่วนราชการ ระหว่าง ข้อตกลงการจัดทำ ผลผลิต - SDA
ปริมาณ คุณภาพ ตัวชี้วัด เวลา ต้นทุน รัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด 1 PSA กระทรวง ยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าหมายการให้ บริการสาธารณะ ตัวชี้วัด 2 SDA ส่วนราชการ เป้าหมายการให้ บริการระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัด 3 กลยุทธ์หน่วยงาน แผนการปฏิบัติงาน ผลผลิต กิจกรรมหลัก กระบวนการ ติดตามและ ประเมินผล ตัวชี้วัด งบประมาณ นโยบาย การรายงาน การติดตาม
2.การคำนวณต้นทุนผลผลิต2.การคำนวณต้นทุนผลผลิต - การกำหนดค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพตามที่กำหนดและสอดคล้องกับการจัดสรรงบประมาณที่เน้นผลผลิต - เป็นเงื่อนไขสำคัญที่ส่วนราชการต้องดำเนินการ ก่อนเข้าสู่ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
3.การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง3.การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง • ต้องมีความถูกต้อง มีประสิทธิภาพ รัดกุมโปร่งใส ตรวจสอบได้ • ปรับปรุงกฎระเบียบ ให้มีความคล่องตัวมากขึ้น • ส่วนราชการต้องมีระบบควบคุมภายในที่ดี และได้รับการยอมรับจากภายนอก
4.การบริหารทางการเงินและควบคุมงบประมาณ4.การบริหารทางการเงินและควบคุมงบประมาณ การเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการบริหารทางการเงิน และงบประมาณให้มีมาตรฐานเดียวกัน โดยผ่านระบบการเงินและการบัญชีที่สอดล้อง และเชื่อมโยงกับการควบคุมงบประมาณ
GFMISGovernment Fiscal Management Information Systemโครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็คโทรนิคส์
5.การบริหารสินทรัพย์ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากการใช้สินทรัพย์ ที่มีอยู่ โดยการ ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายโดยรวม การทราบสถานะของสินทรัพย์ที่มีอยู่ และ การลด ความต้องการของสินทรัพย์ใหม่ที่ไม่จำเป็นโดยผ่านระบบการวางแผนที่ดี
การบริหารสินทรัพย์ การวางแผนกำหนดความต้องการสินทรัพย์ การจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งสินทรัพย์ การใช้งานและดูแลรักษาสินทรัพย์ การกำจัดสินทรัพย์
6.การรายงานทางการเงิน และผลการดำเนินงาน แสดงผลสำเร็จของงานตามข้อตกลง แสดงการใช้จ่ายงบประมาณ แสดงต้นทุนในการผลิตและบริการ แสดงผลการปฏิบัติงานในแต่ละช่วงเวลา
7.การตรวจสอบภายใน การควบคุมการใช้งบประมาณ และ ปรับปรุงการดำเนินงานให้มี ประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล โดยหน่วยตรวจสอบ ภายในของส่วนราชการ
การตรวจสอบภายใน มี 6 ประเภท คือ 1. การตรวจสอบทางการเงิน 2. การตรวจสอบการปฏิบัติการ 3. การตรวจสอบการบริหาร 4. การตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อกำหนด 5. การตรวจสอบระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. การตรวจสอบพิเศษ
การประเมินผลการดำเนินงานการประเมินผลการดำเนินงาน ข้อตกลงให้บริการสาธารณ (PSA) (ครม.กับ รมว.กห.) ติดตามประเมินผล กห. รัฐบาล ข้อตกลงการจัดทำผลผลิต (SDA) (รมว.กห.กับ ผบ.ทบ.) ติดตามประเมินผล ทบ. กห.
ผลกระทบต่อกองทัพบก - การจัดสรรงบประมาณ ปีต่อไป - เงินรางวัล (BONUS) - ประเมินประสิทธิภาพ ผู้บริหาร ประสิทธิภาพ ผลการดำเนินงานของ ทบ. ประสิทธิผล