190 likes | 356 Views
Macromedia Flash 8. Sukunya munjit .. detudom. ความต้องการระบบคอมพิวเตอร์. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือสูงกว่า ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูงกว่า หน่วยความจำ (RAM) อย่างต่ำ 256 MB ( แนะนำให้ใช้ 1 GB)
E N D
Macromedia Flash 8 Sukunyamunjit ..detudom
ความต้องการระบบคอมพิวเตอร์ความต้องการระบบคอมพิวเตอร์ • เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือสูงกว่า • ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูงกว่า • หน่วยความจำ (RAM) อย่างต่ำ 256 MB (แนะนำให้ใช้ 1 GB) • เนื้อที่ของฮาร์ดดิสก์อย่างน้อย 710 MB จอภาพสีที่ความละเอียด 1024 x 768 pixels
ความสามารถใหม่ใน Flash 8 • พื้นที่นอกสเตจที่เรียกว่า Pasteboard เป็นส่วนที่เราใช้เป็นที่พักชั่วคราวในการวางออบเจ็กต์ที่เราไม่ต้องการให้แสดงบนสเตจ เมื่อเราทดสอบผลงานในเวอร์ชั่นเก่าจะแสดงให้เห็นทั้งหมด แต่งานที่สร้างจาก flash 8 ได้ปิด การแสดงผลตรงนี้ไป เพื่อให้เห็นเฉพาะส่วนงานจริงบนสเตจเท่านั้น
การวาดรูปและการลงสี รูปแบบเดิม ภาพวาดแบบปกติที่นำมาซ้อนกัน หลังจากแยกภาพออกจากนั้น ภาพที่ถูกซ้อนทับจะหายไป รูปแบบใหม่ใน Flash 8 ภาพวาดที่เป็นออบเจ็กต์ที่นำมาซ้อนกัน หลังจากแยกภาพออกจะไม่มีส่วนใดของภาพที่หายไป
ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรมส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม
การสร้างไฟล์ด้วยการกำหนดรูปแบบเองการสร้างไฟล์ด้วยการกำหนดรูปแบบเอง • Flash Document ไฟล์รูปแบบปกติ ที่ใช้สร้างงานแอนนิเมชันทั่วไป • Flash Slide Presentation ไฟล์งานที่เหมาะกับการสร้างงานนำเสนอ • Flash Form Application ใช้สร้างฟอร์มสำหรับทำเป็นโปรแกรมใช้งานทั่วไป • ActionScript File เป็นหน้าต่างที่ไว้เขียนสคริปต์เพียงอย่างเดียว • ActionScriptCommunication File เขียนไฟล์เพื่อติดต่อกับเชิร์ฟเวอร์ • Flash JavaScriptFile เหมาะสำหรับงานเขียนสคริปต์ที่ทำงานร่วมกับ JavaScript หรือ API • Flash Project เป็นการรวมกลุ่มงานที่สร้างทั้งหมด ให้ออกมาเป็น Project ไฟล์
นามสกุลของ Flash *.fla คือไฟล์ที่เกิดจากการบันทึกชิ้นงานใน Flash ซึ่งสามารถแก้ไขชิ้นงานได้ *.swf คือไฟล์สำหรับการนำไปเผยแพร่ หมายเหตุ : เมื่อมีการ Publish เพื่อเผยแพร่งานทางเว็บ จะได้ไฟล์ที่มีนามสกุล *.html เพิ่มขึ้นมาด้วย เพื่อแสดงภาพเคลื่อนไหวผ่านเว็บ
วิธีการ Publish • เลือกเมนู File • เลือกคำสั่ง Publish หรือกดปุ่ม Shift + F12
การกำหนดขนาดและคุณสมบัติของชิ้นงานการกำหนดขนาดและคุณสมบัติของชิ้นงาน • Title : ชื่อของชิ้นงาน • Description : รายละเอียดเกี่ยวกับชิ้นงาน • Dimensions : กำหนดขนาดของสเตจโดยระบุค่าความกว้างและความสูง • Match : กำหนดขนาดของสเตจ โดย • Printer ให้สเตจเท่ากับพื้นที่ใหญ่ที่สุดที่สามารถพิมพ์ได้ • Contents ให้พื้นที่การทำงานโดยรอบสเตจมีขนาดเท่ากัน • Default ปรับสเตจให้มีค่ามาตรฐานคือ 550*400 พิกเซล • Background color : กำหนดสีพื้น • Frame Rate กำหนดอัตราเร็วใน การแสดงภาพเคลื่อนไหว (มาตรฐานที่ใช้ 12 fps) • Ruler Units เลือกหน่วยวัดของไม้บรรทัด
ชนิดของกราฟิก • Bitmap เป็นภาพที่เกิดจากเม็ดสีหรือจุดสี (pixel) มาเรียงกันเป็นภาพ ภาพประเภทนี้สามารถแสดงรายละเอียดได้ใกล้เคียงภาพจริง เช่น ภาพถ่ายที่มีความละเอียดสูง แต่ภาพเหล่านี้จะมีขนาดใหญ่ และเมื่อนำมาขยายจะทำให้ได้ภาพที่ไม่ชัด • Vector ภาพนี้จะใช้การคำนวณทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการสร้างเส้นและลวดลายต่างๆ เหมาะสำหรับภาพกราฟิกที่มีสีค่อนข้างต่อเนื่อง แต่สามารถปรับแต่งขนาดได้โดยมีมีผลต่อความละเอียดของภาพ
ทดลองใช้ Flash • เปิดโปรแกรม สร้างไฟล์ชิ้นแรก • เลือก Flash Document • สร้างวัตถุง่ายๆ เช่น เลือกปุ่มการทำงานแบบสำเร็จรูปที่เครื่องเตรียมไว้ โดยไปที่ Window > Common Libraries > Buttons แล้วเลือกปุ่มตามต้องการ • นำวัตถุมาสร้างภาพเคลื่อนไหว • บันทึกการใช้งาน • แปลงไฟล์ชิ้นงานสำหรับเผยแพร่
เทคนิคการวาดเส้น • การวาดเส้นตรงให้เราเลือกเครื่องมือ Line Tool หรือกดคีย์บอร์ด ตัว N • ลองลากเส้นต่อกันดังรูป • กรณีที่เส้น สองเส้นไม่ต่อกันดังรูปที่ผ่านมา ให้เราเลือกที่เครื่องมือ Snap to Object • ลองวาดเส้นใหม่อีกครั้ง เส้นที่วาดใกล้กันจะต่อติดกันพอดี • เมื่อได้เส้นมาแล้ว เราสามารถปรับแต่งเส้นได้ โดยให้เราเลือกเครื่องมือ Selection tool ก่อน หรือกดคีย์บอร์ดตัว V ดังภาพ
รู้จัก Timeline และ Frame Frame Timeline
Frame • Frame เป็นส่วนประกอบของ Timeline ประกอบด้วย Frame ที่ต่อเนื่องกันหลาย ๆ Frame เมื่อมีการแสดงภาพเคลื่อนไหวโปรแกรมจะนำวัตถุ (Instance) ที่อยู่บนเวที (Stage) มาแสดงผลทีละFrame ในส่วนของความเร็วในการแสดงผลมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับการกำหนดคุณสมบัติ Movie Properties ที่ Frame Rate มีหน่วยเป็น Frame per Second (fps) ปกติจะใช้อยู่ที่ 12fps
ลักษณะการทำงานของ Frame ที่ปรากฏบน Timeline • ในกรณีที่ยังไม่มีการกำหนดใช้งาน Frame บน Timeline จะปรากฏช่องของแต่ละ Frame อย่างชัดเจน Playhead จะไม่เคลื่อนที่ • การกำหนดใช้งาน Frame บน Timeline จะปรากฏเป็นแถบสีขาวเท่ากับจำนวน Frame ที่กำหนด Playhead จะเคลื่อนที่จนถึง Frame สุดท้าย • Keyframeมีสัญลักษณ์เป็นจุดสีดำอยู่กลาง Frame เป็นตำแหน่งที่มีวัตถุบนพื้นที่ทำงานหรือมีการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวต่อเนื่องไปจน ถึง Frame สุดท้ายของ Keyframeนั้น มีสัญลักษณ์เป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ภายใน Frame
ลักษณะการทำงานของ Frame (ต่อ) • Action frame มีสัญลักษณ์เป็นรูป a อยู่กลาง Frame เป็นตำแหน่งที่มีคำสั่ง Action ประกอบอยู่ภายใน Frame นั้น • Motion-tweenedkeyframes มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรสีดำ อยู่ระหว่างจุด 2 จุด บนพื้นสีฟ้าอ่อน • Shape-tweenedkeyframes มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรสีดำ อยู่ระหว่างจุด 2 จุด บนพื้นสีเขียวอ่อน