1.33k likes | 7.7k Views
การพัฒนาระบบ CPR. คณะกรรมการทีมช่วยฟื้นคืนชีพ รพ.นครพนม. ที่มาของปัญหา. การทบทวน Mortality conference พบปัญหาในการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วย Upper airway obstruction ที่ตึก ENT. Start CPR Immediately. Better chance of survival Brain damage in 4-6 minutes
E N D
www.themegallery.com การพัฒนาระบบ CPR คณะกรรมการทีมช่วยฟื้นคืนชีพ รพ.นครพนม
ที่มาของปัญหา การทบทวน Mortality conference พบปัญหาในการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วย Upper airway obstruction ที่ตึก ENT www.themegallery.com
Start CPR Immediately • Better chance of survival • Brain damage in 4-6 minutes • Brain damage is certain after 10 minutes www.themegallery.com
ปัญหาที่พบคืออะไร www.themegallery.com
ปัญหาที่พบในการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วย รพ.นครพนม • เจ้าหน้าที่ขาดทักษะความชำนาญในการ CPR • เจ้าหน้าที่มีอัตรากำลังไม่เพียงพอ • แพทย์มาไม่ทัน / ตามแพทย์ไม่พบ • ยาและอุปกรณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพไม่ครบ • อุปกรณ์ชำรุด • ไม่มีเครื่อง defibrillator ประจำหอผู้ป่วย • ไม่มีการประเมินผลประสิทธิภาพในการช่วยฟื้นคืนชีพ www.themegallery.com
แนวทางแก้ไข คณะกรรมการ ทีมช่วยฟื้นคืนชีพ รพ.นครพนม อายุรแพทย์ กุมารแพทย์ แพทย์และพยาบาลกลุ่มงานอื่น ๆ พยาบาล ICU วิสัญญีพยาบาล พยาบาล ER www.themegallery.com
ระบบ อุปกรณ์ ทักษะ กระบวนการพัฒนา • มาตรฐานรถ Emergency • ยาฉุกเฉิน • Defibrillator • การ call code • ทีม CPR กลาง • แพทย์เวร CPR • พยาบาลเวร CPR CPR 2005 www.themegallery.com
Dream team • มาถึงที่เกิดเหตุภายใน 4 นาที • ทักษะในการ CPR พร้อม • อุปกรณ์ในการ CPR พร้อม • ให้ยาได้ถูกต้องแม่นยำ รวดเร็ว • Early defibrillation ตามข้อบ่งชี้ • มีการบันทึกการให้ยาและการรักษา • การดูแลผู้ป่วยและญาติแบบองค์รวม • ทบทวนผลการปฏิบัติงานและมีการพัฒนา
การอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพแก่เจ้าหน้าที่การอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพแก่เจ้าหน้าที่ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การช่วยฟื้นคืนชีพ ผู้ใหญ่ - เด็ก ในวันที่ 3-7 มีนาคม 2551 ( 5 รุ่น รุ่นละ 8 ชั่วโมง ) การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ครู ก ในการฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพ ผู้ใหญ่ - เด็ก ในวันที่ 26-27 พฤศจิกายน 2551 ( 2 รุ่น รุ่นละ 8 ชั่วโมง) ประเมินระบบโดยการเก็บบันทึกใบประเมินผลและการสุ่มสถานการณ์สมมติ เจ้าหน้าที่ยังขาดทักษะในการ CPR และสับสนในการเข้าทีม www.themegallery.com
เจ้าหน้าที่ทุกระดับ เกิดความมั่นใจในการ CPR
ซ้อมการเข้าทีม “Dream team” www.themegallery.com
เมษายน 2552: เสริมทักษะในการ CPR และชี้แจงระบบให้บุคลากรใหม่
การ Call code“1669” ในเวลาราชการทีม CPR ประจำตึก ประกอบด้วย • คนที่ 1 พยาบาลวิชาชีพ หรือพยาบาลเทคนิค • คนที่ 2 พยาบาลวิชาชีพ • คนที่ 3 พนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้ • คนที่ 4 แพทย์เจ้าของไข้ กรณีตามไม่พบให้ตามแพทย์ประจำ OPD ขณะนั้นมาแทน www.themegallery.com
การแก้ไขปัญหาหน่วยงานที่ไม่มีแพทย์และพยาบาลประจำการแก้ไขปัญหาหน่วยงานที่ไม่มีแพทย์และพยาบาลประจำ ได้แก่ X ray, Lab, ทันตกรรม, OPD, กายภาพและแพทย์แผนไทย ประกอบด้วย คนที่ 1 เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่เกิดเหตุ คนที่ 2 พยาบาลวิชาชีพ จากหน่วยงานดังกำหนดไว้ในตาราง คนที่ 3 พนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้ คนที่ 4 แพทย์เวรรับ consult จาก OPD อายุรกรรม ในกรณีผู้ใหญ่ หรือ แพทย์เวรรับ consult จาก OPD เด็ก กรณีผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 14 ปี www.themegallery.com
นอกเวลาราชการ แก้ปัญหาด้วย “ทีม CPR กลาง” ทีม CPR กลาง ประกอบด้วย • คนที่ 1 พยาบาลวิชาชีพ หรือพยาบาลเทคนิคประจำหอผู้ป่วย • คนที่ 2 พยาบาลวิชาชีพที่อยู่เวร CPR ในวันนั้น (มาจากหน่วยงาน ER, ICU และวิสัญญี) • คนที่ 3 พนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้ • คนที่ 4 แพทย์เวร CPR www.themegallery.com
การแบ่งหน้าที่ในทีม CPR ให้ชัดเจน ลดความสับสน www.themegallery.com
จัดทำ CPR Record ขนาดยาที่ใช้ ในเด็กและผู้ใหญ่ บันทึก ขณะ CPR การประเมินผู้ป่วยหลัง CPR ผลการ CPR
ผังการแบ่งใช้เครื่อง Defibrillator www.themegallery.com
มาตรฐานรถ Emergency • การจัดเก็บยาและอุปกรณ์ได้มาตรฐานเดียวกันทั้ง รพ. • ตรวจสอบความพร้อมใช้ทุกเวร • สุ่มตรวจประเมินโดยวิสัญญีพยาบาลของทีมกลาง www.themegallery.com
สรุปขั้นตอนการดูแลผู้ป่วย Arrest • มีพยาบาลเข้าประเมินผู้ป่วยและให้การช่วยเหลือเบื้องต้นทันที • Call code 1669 “CPR ตึก... แพทย์...” • ศูนย์ 1669 ประสานแพทย์ พยาบาล CPR เครื่อง Defibrillator • ทีม CPR ประจำตึกทำการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วย • นอกเวลาราชการมีทีม CPR กลางเคลื่อนที่เร็วไปจุดเกิดเหตุ • เครื่อง defibrillator ถูกนำไปยังจุดเกิดเหตุทันที • จดบันทึก CPR Record และ แบบประเมินผลการ CPR • คณะกรรมการ CPR เก็บรวมรวมสถิติ และพัฒนา • สุ่ม CPR เหมือนจริงเพื่อสำรวจความพร้อม ทุกที่ ทุกเวลา www.themegallery.com
ผลลัพธ์: อัตราการรอดชีวิตจากการ CPR เพิ่มขึ้น www.themegallery.com
ตัวชี้วัดผลสำเร็จจากการประเมินผล ปี 2552 • ผู้ป่วยได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพ • ขั้นต้นภายใน 4 นาที 100% • ขั้นสูงภายใน 8 นาที 100% • ทักษะ CPR ของทีมผ่านเกณฑ์ประเมิน 98.2% • แพทย์และพยาบาลเวร CPR ตอบสนอง ต่อการเรียกขอความช่วยเหลือภายใน 4 นาที 72.73% • รถฉุกเฉินตรวจสอบความพร้อมใช้เสมอ 81.82% www.themegallery.com
ปัญหาและโอกาสพัฒนา • อัตราการส่งกลับใบประเมินผลต่ำ (62%) • การ call code ผิด • การซ้อม CPR ในตึกยังไม่ครบหลังอบรมครู ก • ทักษะในการ CPR ยังไม่ถูกต้อง www.themegallery.com
3 จัดประชุมหัวหน้าตึกและครู ก เพื่อทบทวน CPR 100% เมื่อ 25 พฤศจิกายน 2552 และจัดทำแผนทบทวนในตึก • สุ่มสำรวจ CPRในทุกหน่วยงานเพื่อสำรวจปัญหา • เก็บสถิติเพื่อการพัฒนา
ตัวชี้วัดผลสำเร็จจากการประเมินผล ปี 2553 • ผู้ป่วยได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพ • ขั้นต้นภายใน 4 นาที 100% • ขั้นสูงภายใน 8 นาที 100% Call code 228ครั้ง ส่งแบบประเมินกลับ 50.8% แพทย์มาถึงจุดเกิดเหตุ 5 นาที 33 วินาที พยาบาลเวร CPR 4 นาที เครื่อง Defibrillator 3 นาที www.themegallery.com
เปรียบเทียบผลสำเร็จปี 2552-2553
4 จัดประชุม CPR 2010 27 เมษายน 2554 เป้าหมาย: เจ้าหน้าที่รพ. 365 คน เข้าร่วม 395 คน (108.2%) • จัดทำห้องปฏิบัติการ CPR เพื่ออบรมภาคปฏิบัติ
ปรับปรุงใบประเมินผล CPR เพื่อเก็บข้อมูลนำไปพัฒนา ผลการ CPR บันทึก ขณะ CPR การประเมินผู้ป่วยหลัง CPR
ผลการ CPR จากใบประเมินใหม่ หลังการปรับปรุงล่าสุด เดือน พ.ค.-มิ.ย.54 CPR 2010
จำนวนผู้ป่วยนอกเสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุเพิ่มมากขึ้น ปี 2553 ปี 2554 (ต.ค.53-พ.ค.54)
โอกาสพัฒนา • การ CPR ที่ได้ประสิทธิภาพ ณ จุดเกิดเหตุ • พัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยระบบตติยภูมิ • พัฒนาระบบส่งต่อ
เรียนรู้ปัญหา พัฒนาระบบ ทักษะ Patient safety CPR ในรพ. CPR ณ จุดเกิดเหตุ Thank You www.themegallery.com