400 likes | 664 Views
การจัดทำงบประมาณที่มีมิติหญิงชาย ( Gender Responsive Budgeting). ผศ . ดร . ภาคภูมิ ฤกขะ เมธ. Gender responsive Budgeting (GRB)
E N D
การจัดทำงบประมาณที่มีมิติหญิงชาย(Gender Responsive Budgeting) ผศ. ดร. ภาคภูมิ ฤกขะเมธ
Gender responsive Budgeting (GRB) “การจัดการงบประมาณ คำนึงถึง ความจำเป็นและผลประโยชน์ที่แตกต่างกันของกลุ่มต่างๆ ของพลเมือง-ที่เป็นหญิง-ชาย , ผู้ใหญ่ คนชราและกลุ่มต่างๆ โดยมีจุดมุ่งหมายในการกระจายทรัพยากร ในการทำให้สามารถเกิดความเท่าเทียม (equitable) เพื่อตอบสนองความต้องการของทุกคนในสังคมมากยิ่งขึ้น”
ใช่หรือไม่?- งบสำหรับผู้หญิง-ผู้ชาย - การแบ่งงบประมาณที่เท่ากัน 50 : 50- การจัดสรรพิเศษ (Special Allocation)สำหรับผู้หญิง “การจัดทำงบประมาณ ที่มีการวิเคราะห์และคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างหญิง ชาย ที่คำนึงงานและภาคส่วนที่ไม่ได้รับค่าตอบแทนเศรษฐกิจภาคอภิบาล(Care Economy) และมองทั้งแง่งบประมาณรายจ่าย (Expenditure)และรายได้ (Revenue)”
Household • VS • Individuals/Users สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี : ตุลาคม 2544
การพัฒนากระแสหลัก VS ความเป็นธรรม (Equity)
การวิเคราะห์งบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชายการวิเคราะห์งบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชาย (Gender Budgeting Analysis) สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี : ตุลาคม 2544
กระบวนการที่นำมิติหญิงชายเข้าสู่กระแสหลักผ่านกระบวนการนิติบัญญัติกระบวนการที่นำมิติหญิงชายเข้าสู่กระแสหลักผ่านกระบวนการนิติบัญญัติ
วันอังคารที่ 24 มิถุนายน 2557 โดย ตุ๊ ปากเกร็ด
Gender Blindness ระดับบโยบาย Vsระดับครอบครัว • Factคำนึงถึง ถามถึง วิเคราะห์ (บางครั้งเคยชินหรือลืมเช่น การทำงานในบ้าน ลืมนึกบทบาท การแบ่งงานและการเข้าถึงทรัพยากรที่เกิดขึ้นจริง)ปัญหา สาเหตุ ความจำเป็นTargetDesign
- Knut Wicksellวิเคราะห์ผลกระทบงบประมาณกับกลุ่มต่างๆ (Musgrave, 1959)- บุกเบิกการวิเคราะห์งบประมาณที่มีมิติ ญ/ช (Budlender and Sharp,1998)- มองการปฏิรูป ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลของ งานดูแลครอบครัว(Elson, 2001)- นัยยะการกักเก็บงบในกระบวนการงบประมาณทุกระดับ (Council of Europe, 2003) - ลำดับความสำคัญใหม่ รายได้/รายจ่าย (Cagatay ,2003)-นโยบายเป็นกลางแต่ไม่เป็นธรรม (Rubin and Bartle,2005)- มองอคติและการเสียเปรียบจากชนชั้น ความจนและปัจจัยอื่นๆด้วย (Budlender,2006) แนวคิดสำคัญ
กรอบการวิเคราะห์ผลกระทบกรอบการวิเคราะห์ผลกระทบ (Budlender and Sharp ,1998)
อะไรที่ไม่ใช่ GRB- ไม่ใช่ งบสำหรับผู้หญิง-ผู้ชาย - งบประมาณที่เท่ากัน 50 : 50- ไม่ใช่เป็นการจัดสรรพิเศษ (Special Allocation) “การจัดทำงบประมาณ ที่มีการวิเคราะห์และคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างหญิง ชาย ที่คำนึงงานและภาคส่วนที่ไม่ได้รับค่าตอบแทนเศรษฐกิจภาคอภิบาล : Care Economy) และมองทั้งแง่งบประมาณรายจ่าย (Expenditure) และ รายได้ (Revenue)”
กิจกรรมวิเคราะห์โครงการกิจกรรมวิเคราะห์โครงการ • โครงการนี้เป็น GRB ? • ถ้าไม่ใช่จะปรับอย่างไร? • ในการปฏิบัติจริงจำเป็นต้องทำอะไรบ้าง?
การวิเคราะห์งบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชายการวิเคราะห์งบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชาย (Gender Budgeting Analysis) สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี : ตุลาคม 2544
Factคำนึงถึง ถามถึง วิเคราะห์ (บางครั้งเคยชินหรือลืม เช่น การทำงานในบ้าน ลืมนึกบทบาท การแบ่งงานและการเข้าถึงทรัพยากรที่เกิดขึ้นจริง)ปัญหา สาเหตุ ความจำเป็น Target Design
ประโยชน์ของ GRB • 1.1 การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม • 1.2 การจัดสรรและการกระจายทรัพยากร ทำให้เข้าถึงง่ายขึ้น • 1.3 ความโปร่งใส และความพร้อมรับผิดชอบ( Transparency & Accountability)
เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำงบประมาณที่คำนึงมิติหญิง-ชาย (Diane Elson) • การประเมินนโยบายที่คำนึงถึงมิติหญิง-ชาย(Gender aware-policy appraisal) • การประเมินประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดบริการ และการจัดลำดับความสำคัญของงบประมาณ จำแนกเพศ(Gender-disaggregated beneficiary assessment of public service delivery) • การวิเคราะห์รายจ่ายสาธารณะที่กระทบต่อหญิงและชาย (Gender-disaggregated public expenditure incidence analysis) หรือ Benefit Incidence Analysis • การวิเคราะห์รายได้ภาครัฐที่กระทบต่อหญิงและชาย(Gender-disaggregated public revenue incidence analysis)
เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำงบประมาณที่คำนึงมิติหญิง-ชาย (Diane Elson,2002b) • การวิเคราะห์งบประมาณแยกเพศ ตามการใช้เวลาในแต่ละวัน(Gender-disaggregated analysis of the budget on time use) • กรอบนโยบายทางเศรษฐกิจระยะกลางที่คำนึงถึงมิติหญิงชาย (Gender-aware medium-term economic policy framework) • ข้อความในงบประมาณที่สะท้อนการคำนึงถึงมิติหญิง-ชาย (Gender-aware budget statement)
งบประมาณรายจ่าย • การจัดเก็บรายได้ • การบริการและสวัสดิการต่างๆ • การลดภาระและช่วยเหลืองานในบ้าน (Care Economy)
ประสบการณ์ในต่างประเทศประสบการณ์ในต่างประเทศ
Q&A ขอบคุณครับ • ผศ. ดร. ภาคภูมิ ฤกขะเมธ