1.01k likes | 3.41k Views
การจัดการภาวะฉุกเฉินสำหรับผู้สูงอายุ ( Emergency management for the elderly) โดย ชัญญา ศิ ริศิลป์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลอุดรธานี พยาบาลปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงสาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ 4 มิถุนายน 2557. ลักษณะพิเศษของผู้สูงอายุ - Reduced body reserve -atypical presentation
E N D
การจัดการภาวะฉุกเฉินสำหรับผู้สูงอายุ(Emergency management for the elderly)โดย ชัญญาศิริศิลป์พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลอุดรธานีพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงสาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ 4 มิถุนายน 2557
ลักษณะพิเศษของผู้สูงอายุลักษณะพิเศษของผู้สูงอายุ -Reduced body reserve -atypical presentation -Multiple pathology -polypharmacy -social adversity RAMPS ทำไม?ภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุจึงสำคัญ
-กลุ่มที่อยู่ในสถานะพึ่งพา-กลุ่มที่อยู่ในสถานะพึ่งพา -กลุ่มที่มีข้อจำกัดในการสื่อสาร -อาศัยอยู่คนเดียวหรือเร่ร่อน -มีลักษณะเฉพาะ ได้แก่ อายุมาก ติดสุรายาเสพติด มีประวัติถูกทำร้าย มีโรคร่วมมาก ผู้สูงอายุใดบ้างที่เราต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ
ปัญหาของผู้สูงอายุเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินปัญหาของผู้สูงอายุเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน -ความยากในการรับรู้ว่าเกิดภาวะฉุกเฉินและการวินิจฉัย -มีความรุนแรงและผลกระทบมากกว่าที่ควรจะเป็น -ประเด็นการไม่กู้ชีพ
ภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุ ทางอายุรกรรมร้อยละ 80,ทางศัลยกรรมร้อยละ 20
โรคที่พบบ่อย -โรคหัวใจและหลอดเลือด -โรคระบบทางเดินหายใจ -โรคหลอดเลือดสมอง -การบาดเจ็บเนื่องจากหกล้ม
อาการที่พบบ่อย -เจ็บหน้าอก -หัวใจวาย -ปวดท้อง -ปอดอักเสบ -หมดสติ
ปัญหาที่สำคัญ -อาการบาดเจ็บ -ปัญหาในการดูแลตนเอง
ภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยในผู้สูงอายุภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ทางอายุรกรรมร้อยละ 80,ทางศัลยกรรมร้อยละ 20
-โรคระบบประสาท -โรคทางจิตประสาท -การหกล้ม อุบัติเหตุ กระดูกหัก -โรคทางระบบหายใจและหลอดเลือด -โรคระบบทางเดินหายใจ -โรคระบบทางเดินอาหาร -โรคระบบต่อมไร้ท่อ -ผลข้างเคียงจากยา -ภาวะพิษจากการดื่มสุรา ได้รับสารพิษและสารเสพติด -โรคติดเชื้อในระบบต่างๆ -การได้รับการทารุณกรรม ภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
1.ประเมินทางด้านกายภาพ1.ประเมินทางด้านกายภาพ -Geriatric syndrome -อวัยวะการรับรู้ -อาการและอาการแสดงข้อบ่งชี้โรค 2.การประเมินทางสุขภาพจิต -Delirium -Depression -Dementia -โรคจิตเภท 3.การประเมินด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม 4.Funtional assessment หลักการประเมินสุขภาพในผู้สูงอายุอย่างครบถ้วน
การสูดสำลักสิ่งแปลกปลอม(Foreign-body airway obstruction) พบว่าไอหรือหายใจลำบากขึ้นมาทันที สำลักอาหาร เอามือกำคอ รุนแรงถึง หายใจไม่ออกตัวเขียว รุนแรงมากหมดสติ หยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น การปฐมพยาบาล -1669 -ประเมินความรู้สึกตัว แนะนำให้ไอแรงๆ -ไอไม่ได้ ตัวเขียว ยืนด้านหลังโอบกำมือข้างถนัดหันนิ้วหัวแม่มือวางตั้งฉากบริเวณลิ้นปี่ ใช้มืออีกข้างโอบทับ ออกแรงดันให้แนวแรงเฉียงขึ้น ทำบ่อยๆ จนสิ่งอุดกั้นหลุด ไม่ดีขึ้น ไม่รู้สึกตัว CPR กดหน้าอก การประเมินภาวะฉุกเฉินและการช่วยเหลือผู้สูงอายุเบื้องต้น
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia)ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia) เหงื่อออกตัวเย็น ใจสั่น จะเป็นลม รุนแรงอาจไม่รู้สึกตัว Hx.DM DTX<70 การปฐมพยาบาล -น้ำผลไม้ 1 กล่อง น้ำอัดลมครึ่งกระป๋อง น้ำตาล 4 ชช หรือลูกอม (กลูโคส=15-20 g) -เจาะ DTX ซ้ำหลัง 15 นาที ยังต่ำให้ซ้ำ -ถ้าปกติแล้วให้รับประทานอาหารต่อทันที -แนะนำพบแพทย์เพื่อปรับยา -ไม่รู้สึกตัวห้ามให้ทางปาก 1669 มีกลูโคสให้ทาง IV นำส่ง รพ
ภาวะชัก(Seizure) สังเกตแขนขากระตุกเป็นจังหวะทั้งสองข้างหรือข้างเดียวชัดเจน บางทีอาจเหม่อลอย เรียกไม่รู้สึกตัว Hx.epilepsy มีอาการนำ เช่นเห็นภาพ ได้ยินเสียง รับสัมผัส ได้กลิ่นก่อนชัก การปฐมพยาบาล -ก่อนชักพาไปที่ปลอดภัย นั่งหรือนอน มีผู้ดูแล -ขณะชักมักไม่เกิน 1-2 นาที คลายเสื้อผ้า ห้ามผูกมัด ห้ามใช้วัสดุใดงัดลิ้นหรือใส่ในปาก ห้ามให้ยาทางปาก จัดท่าให้นอนตะแคง -หลังชักจะสับสนประมาณ 1 ชม -นำส่ง รพ. กรณีชักครั้งแรก ชักนานเกิน 5 นาที ชักซ้ำโดยไม่รู้สึกตัวระหว่างการชัก แต่ละครั้ง สับสนหลังชักเกิน 1 ชม. บาดเจ็บ
โรคหลอดเลือดสมอง(Acute stroke) ชา อ่อนแรง ใบหน้า แขนขา ด้านใดด้านหนึ่ง พูดไม่ชัด เดินเซ ซึมลง สับสน การปฐมพยาบาล -เจาะ DTX -1669 -หมดสติจัดท่านอนตะแคง
Heat stroke ร้อนจนเป็นลม หมดสติ ชัก การปฐมพยาบาล -ออกจาก สวล. -อาการไม่มากให้เกลือแร่ -ถ้ามีอาการรุนแรงมากขึ้นส่ง รพ. -ระหว่างรอใช้น้ำเช็ดตัว พ่นน้ำ พัดหรือเปิดพัดลม -ห้ามให้ยาลดไข้
Hypothemia หนาวสั่น อ่อนเพลีย สับสน รุนแรงมีหายใจและ HR ช้า ตัวซีดเย็น ม่านตาขยาย ไม่รู้สึกตัว การปฐมพยาบาล -ออกจาก สวล. -ส่ง รพ. -Keep warm -รู้สึกตัวดื่มน้ำอุ่น -ไม่รู้สึกตัว คลำ P ยาก HR ช้า กดหัวใจ
การดูแลผู้สูงอายุบาดเจ็บการดูแลผู้สูงอายุบาดเจ็บ ตามหลัก Advance Trauma Life Support หลัก A B C D E -Airway management with C-spine precaution -Breathing and ventilation -Circulation and bleeding control -Disability -Exposure and environmental control
การหกล้มและกระดูกหักในผู้สูงอายุFall and common fractures in older persons
ตำแหน่งกระดูกหักที่พบบ่อยในผู้สูงอายุโรคกระดูกพรุน กระดูกข้อสะโพก กระดูกสันหลังและกระดูกข้อมือ
กระดูกข้อสะโพกหัก(Proximal femoral fractures)พบบ่อยคือ Fracture neck of femur และ intertrochanteric of femur พบอัตราเสียชีวิตหลังหักร้อยละ 10-30 ภายใน 1 ปีแรก ร้อยละ 40 หลังหัก เดินโดยใช้อุปกรณ์ช่วย หลังผ่าตัดต้องใช้ 1 ปี เกิดหักซ้ำล้มซ้ำได้มากขึ้นการรักษา การผ่าตัด การไม่ผ่าตัด
กระดูกสันหลังยุบ(Vertebral compression fracture)ส่วนใหญ่มีอาการเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีอาการหรือเจอโดยบังเอิญ ผู้สูงอายุบางรายปวดมากจนต้องนอนติดเตียงทำให้เกิด immobilization syndromคือ แผลกดทับ DVT UTI Pneumonia มวลกล้ามเนื้อลดลง กระดูกพรุนรุนแรงมากขึ้น มีอัตราตายสูงหลังกระดูกหลังยุบร้อยละ 15
อาการและอาการแสดง ตรวจพบโดยบังเอิญ ปวดหลังเฉียบพลันหลังก้ม ไอจามแรงๆ ยกของหนักธรรมดา ปวดมากขึ้นเวลาลุกนั่งหรือเดิน ดีขึ้นเองหลัง 4-6 wk โดยทั่วไปถ้ายุบจากกระดูกพรุนมักไม่มีความผิดปกติของระบบประสาทร่วมด้วย บางรายเกิด Kyphosisหลังค่อมโน้มไปด้านหน้าเพิ่มความเสี่ยงหกล้ม
อาการและอาการแสดง กระดูกยุบหนึ่งปล้องทำให้มีความเสี่ยงเกิดยุบในปล้องอื่นๆเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่า กระดูกหลังยุบหลายๆปล้องส่งผลต่อระบบต่างๆเช่น การทำงานของปอดลดลง ท้องผูก เสี่ยงต่อการเกิดโรคลำไส้เล็กอุดตันเป็นผลจากช่องปอดและท้องมีขนาดเล็กลงจากการยุบของหลัง
การรักษา การผ่าตัด การไม่ผ่าตัด โดยการให้ยาแก้ปวด ปวดดีขึ้นเริ่มกายภาพ การใส่เสื้อพยุงหลังประคองตั้งแต่สะโพกจนถึงไหล่ อาการจะดีขึ้นในระยะเวลา 2-4 สัปดาห์ หายไปประมาณ 3 เดือน
การรักษาด้วยยา นอกจากยาแก้ปวดแล้วควรร่วมกับการรักษาโรคกระดูกพรุนไปด้วย ยาแก้ปวดควรเลือกใช้กลุ่ม acetaminophen เป็นอันดับแรก รองลงมากลุ่ม NSAIDS และ opioidแต่ต้องระวังผลข้างเคียงในผู้สูงอายุ ยากลุ่มอื่นๆที่ลดอาการปวดในผู้สูงอายุกระดูกหลังยุบได้เช่น calcitoninและยา teriparatideรักษากระดูกพรุน
การรักษาโรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุที่มีกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนการรักษาโรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุที่มีกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน ควรรักษาทันทีภายหลังผ่าตัดแล้ว มีหลังสำคัญ 4 ประการคือ การกำจัดปัจจัยเสี่ยง การรักษาโรคร่วมที่อาจเป็นสาเหตุของโรคกระดูกพรุน การรักษาโดยไม่ใช้ยา และการรักษาโดยการใช้ยา
การรักษาโรคร่วม การตรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐาน -CBC -BUN,Cr -Ca -Serum 25-hydroxyvitamin D -Phosphate -parathyriod homone
การรักษาโรคร่วม การตรวจทางห้องปฏิบัติการทางเลือก -thyroid function test -24-hour urine calcium -Lab เกี่ยวระบบภูมิต่างๆ -Urine bence jones protien
การรักษาโดยไม่ใช้ยา -การรับประทานอาหารที่มี Ca,vit D แคลเซียมควรได้ 1000-1200 mg/d Vit D ควรได้ 1000-2000 IU/d -การออกกำลังกาย
การรักษาโดยใช้ยา ปัจจุบันมี 2 กลุ่ม -กลุ่มต้านการสลายกระดูก(anti-resorptive agent) -กลุ่มกระตุ้นสร้างกระดูกใหม่(anabolic agent)
สรุปนิดนุงนะคร้า ลักษณะของผู้สูงอายุ -Reduced body reserve -atypical presentation -Multiple pathology -polypharmacy -social adversity การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในผู้สูงอายุ
Psychosocial issue Incontinence Falling Confusion Iatrogenicdisorders Impaired Homeostasis ปัญหาสำคัญในผู้สูงอายุ Giants of Geriatrics for a nursing assessment (Olenek,K.2000)
Holism & Giant Geriatric Nursing Assessment ปัญหาสำคัญของผู้สูงอายุ การประเมินผู้สูงอายุอย่างครบถ้วน กระบวนการพยาบาล องค์รวม ปรากฏการณ์
ขอบคุณสำหรับการรับฟังค่ะขอบคุณสำหรับการรับฟังค่ะ