290 likes | 538 Views
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555. 1. กรอบการบริหารงบค่าบริการการแพทย์แผนไทย 2555. งบบริการแพทย์แผนไทย 7.57 บาท/ปชก.สิทธิ UC ( 48,333,000 คน ) 365,880,810 บาท. การนวดไทย 5.19 บ/ปชก. ( 68.5%) 250,848,270 บาท. งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการ 0.38 บ/ปชก.
E N D
1.กรอบการบริหารงบค่าบริการการแพทย์แผนไทย 2555 งบบริการแพทย์แผนไทย 7.57 บาท/ปชก.สิทธิ UC (48,333,000 คน) 365,880,810 บาท การนวดไทย 5.19 บ/ปชก. (68.5%) 250,848,270 บาท งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการ 0.38 บ/ปชก. (5%) 18,366,540 บาท สนับสนุนใช้ยาจากสมุนไพร 2 บ/ปชก. (26.5%) 96,666,000 บาท • นวดไทย • ใช้ยา • จากสมุนไพร ฟื้นฟูสุขภาพ มารดาคลอด (2,500บx10,000 ราย) 25,000,000 บาท นวด,อบ,ประคบ 4.7 บ/ปชก. 225,848,270 บาท • หลังคลอดเป้าหมาย • 10,000 ราย • ณ หน่วยบริการ • ในชุมชน
2.เป้าหมาย ปี 2555 √ส่งเสริมการนวดไทยให้มีมาตรฐานและ คุณภาพ เพิ่มการเข้าถึงบริการ โดยจำนวน ครั้งบริการนวดไทยเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 √จำนวนแม่หลังคลอดสิทธิUC ได้รับการฟื้นฟู สุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย 10,000 ราย
3. รูปแบบการจัดสรร ปีงบประมาณ 2555 3.1 จัดสรรค่าบริการเพิ่มเติม (On top) ให้หน่วยบริการที่จัดบริการแพทย์แผนไทยเพื่อการรักษาและฟื้นฟูสภาพ ให้แก่ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 3.2 การจัดสรร - การนวดไทย (ในหน่วยบริการและนอกหน่วยบริการ) และการสั่งใช้ยาจากสมุนไพร จัดสรรแบบวงเงินปลายปิด (Close ended) โดยจ่ายตามผลงานจริง - การฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด จัดสรรครั้งละ 500 บาท ต่อการให้บริการ 1 ชุดบริการ (ครบ 5 กิจกรรมใน 1 วัน)
งบบริการแพทย์แผนไทย 55 7.57 บาท/ปชก.สิทธิ UC (48,333,000 คน) 365,880,810 บาท การนวดไทย 5.19 บ/ปชก. (68.5%) 250,848,270 บาท งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการ 0.38 บ/ปชก. (5%) 18,366,540 บาท สนับสนุนใช้ยาจากสมุนไพร 2 บ/ปชก. (26.5%) 96,666,000 บาท • นวดไทย • ใช้ยา • จากสมุนไพร ฟื้นฟูสุขภาพ มารดาคลอด (2,500บx10,000 ราย) 25,000,000 บาท นวด,อบ,ประคบ 4.7 บ/ปชก. 225,848,270 บาท • หลังคลอดเป้าหมาย • 10,000 ราย • ณ หน่วยบริการ • ในชุมชน
เกณฑ์การจัดสรรนวดไทย ปี 55 - จัดสรรแบบวงเงินปลายปิด (Close ended) - เพื่อการรักษาและฟื้นฟูสภาพเท่านั้น - หน่วยบริการสามารถ ให้บริการตั้งรับ (ในหน่วยบริการ) สำหรับผู้ป่วยทั่วไป ให้บริการเชิงรุก (นอกหน่วยบริการ) สำหรับผู้พิการ,หรือ ผู้ป่วยstroke (สามารถให้บริการและบันทึกแยกกับนักกายภาพได้ กรณีลงปฏิบัติงานพร้อมกัน)
Point ตั้งต้น (เหมือนปี 54) ก) การให้บริการในหน่วยบริการ - นวด ครั้งละ 1.0 คะแนน - ประคบ ครั้งละ 0.8 คะแนน - อบไอน้ำสมุนไพร ครั้งละ 0.2 คะแนน ข) การให้บริการนอกหน่วยบริการกรณีผู้ป่วยผู้พิการ และผู้ป่วย Stroke - นวด ครั้งละ 1.5 คะแนน - ประคบ ครั้งละ 1.2 คะแนน
การคำนวณค่า K ของแต่ละหน่วยบริการ(นำค่า K คูณ ผลรวม Point = Point ที่นำไปคิดเงิน) K= (0.8xA) + (0.2xB)+ C A คือ จำนวนผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ประจำในหน่วยบริการนั้น Bคือ จำนวนผู้ช่วยแพทย์แผนไทยที่จบหลักสูตรอย่างน้อย 330 ชั่วโมงขึ้นไปจากสถาบันที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยและผู้ที่จบหลักสูตรแพทย์แผนไทย/แพทย์แผนไทยประยุกต์ที่ยังไม่ได้ใบประกอบโรคศิลปะฯ ที่ประจำในหน่วยบริการนั้น Cคือ A:Bโดยกำหนดไว้ดังนี้ กรณีที่ 1 สัดส่วน 1 : น้อยกว่าหรือเท่ากับ 4 [1/1 ถึง 1/4 ]= 0.25 ถึง 1คะแนน C = 2.0 กรณีที่ 2 สัดส่วน 1 : 5-10 [1/5 ถึง 1/10] = 0.1 ถึง 0.2คะแนน C = 0.5
การคำนวณค่า K ของแต่ละหน่วยบริการ(นำค่า K คูณ ผลรวม Point = Point ที่นำไปคิดเงิน) K= (0.8xA) + (0.2xB)+ C ตัวอย่าง รพ.ใจดี มี Point ไตรมาสที่ 1 = 2,000 point มีนักการแพทย์แผนไทยฯมีใบประกอบโรคศิลปะ 2 คน มี ผช.330 372 และ800 ชม. รวม 10 คน คำนวณดังนี้ K = [(0.8x2)+(0.2x10)] + [(2)/(10)]…… = [(1.6+2)]+ [0.5] = [2.6]+ [0.5] = 3.1 ดังนั้น Point ที่นำไปคิด = 2,000*K = 2,000*3.1 = 6,200 Point [1/1 ถึง 1/4] = 0.25 ถึง 1 คะแนน C = 2.0 [1/5 ถึง 1/10] = 0.1 ถึง 0.2คะแนน C = 0.5
การ Update ข้อมูลบุคลากร ผ่านโปรแกรม Online แพทย์แผนไทยฯ (โปรแกรมเดิม) ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2554 ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ครั้งที่ 3 ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2555 ครั้งที่ 4 ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2555 ครั้งที่ 5 ภายในวันที่ 30 กันยายน 2555
หน่วยบริการที่จะได้รับงบเพิ่มเติมการนวดไทย ปีงบประมาณ 2555 บริการนวดไทย หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการร่วมให้บริการ หน่วยบริการรับการส่งต่อ ที่มีบริการแพทย์แผนไทย และผ่าน (หรือผ่านแบบมีเงื่อนไข)ตามเกณฑ์การตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ (ผนวก 6)กรณีที่ไม่ผ่านจะต้องมีแผนพัฒนาและเมื่อพร้อมก็สามารถขอให้ตรวจประเมินระหว่างปีได้ฯ
เกณฑ์การจัดสรรฟื้นฟูฯแม่หลังคลอด ปี 55 กรณีผู้ให้บริการฟื้นฟูแม่หลังคลอด ต้องเป็น ผดุงครรภ์ไทย นวดไทย หรือ แพทย์แผนไทยประยุกต์เท่านั้น - การฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด จัดสรรครั้งละ 500 บาท ต่อการให้บริการ 1 ชุดบริการ(ครบ 5 กิจกรรมใน 1 วัน)
การสมัครร่วมบริการฟื้นฟูฯแม่หลังคลอด ปี 55 1. หน่วยบริการสมัครผ่าน สปสช.เขต 2. สปสช.เขต รวบรวม/ตรวจสอบ ส่งกองทุนฯภายในวันที่ 15 ของเดือน ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค. 3. กองทุนฯ อนุมัติและประกาศ ภายในสิ้นเดือน ต.ค. ม.ค. เม.ย. ก.ค.
เกณฑ์การจัดสรรการสั่งจ่ายยาจากสมุนไพร ปี 55 - จัดสรรแบบวงเงินปลายปิด (Close ended) - สั่งจ่ายเพื่อการรักษาโรค - สั่งจ่ายเฉพาะยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ (ปัจจุบันมี 71 รายการขยายตามประกาศ ยา ED) (ยาจากสมุนไพรนอกบัญชียาหลักฯ หน่วยบริการ สามารถสั่งจ่ายได้แต่จะไม่ได้งบเพิ่มเติม)
การแบ่งงบจัดสรร 55 งบนวดไทยปี 55 = 225,848,270 บาท แบ่ง 4 ไตรมาสเท่ากัน (25:25:25:25) งบแม่หลังคลอดปี 55 = 25,000,000 บาท จัดสรรตามข้อมูลจริงของแต่ละไตรมาส งบการสั่งใช้ยาจากสมุนไพรนวดไทยปี 55 = 96,666,000 บาท แบ่ง 4 ไตรมาสเท่ากัน(25:25:25:25)
การบันทึกข้อมูลปี 55 การบันทึกข้อมูลนวดไทย ข้อมูลแม่หลังคลอดปี 55 ไตรมาส 1 นำข้อมูลจากโปรแกรมแผนไทยฯ และ ข้อมูลผ่าน OP/PP individual(นำมาเปรียบเทียบ) ไตรมาส 2-4 นำข้อมูลจาก OP/PPindividual
การบันทึกข้อมูลสั่งจ่ายยาจากสมุนไพร ปี 55 ไตรมาส 1-4 ทุกหน่วยบริการส่งข้อมูล ผ่าน OP/PP individual data การบันทึกข้อมูลผู้ให้บริการเพื่อคิดค่า K บันทึกข้อมูลผู้ให้บริการในโปรแกรมแพทย์แผนไทย ตามรอบที่กำหนด จนกว่า สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย จะมีประกาศให้ผู้ให้บริการแพทย์แผนไทยทุกคนในประเทศไทย register คุณสมบัติผู้ให้บริการไปที่ สถาบันการแพทย์แผนไทย
งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการฯ งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการฯ
งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข ของกองทุนที่เกี่ยวข้อง หน่วย : ล้านบาท หมายเหตุ * งบข้อ 2 และ ข้อ 3 บริหารแบบบูรณาการที่ระดับเขต
การตรวจสอบหลังประมวลผลข้อมูลงบค่าบริการ ค่าบริการนวด ประคบ อบสมุนไพร ค่าบริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอดฯ ค่าสั่งใช้ยาจากสมุนไพร หากพบความผิดปกติ ส่วนกลางจะส่งข้อมูลในเขตตรวจสอบ โดยจะระงับการโอนงบประมาณในไตรมาสนั้น ยกไปจ่ายในไตรมาสสุดท้ายหากผ่านการตรวจสอบ
Q&A การฝังเข็ม เบิกกับ สปสช.ได้หรือไม่? พรบ.หลักประกันฯ 2545 ม.3 ได้ระบุว่า การบริการทางการแพทย์และ สธ. รวมถึง การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกด้วย ดังนั้น สปสช.ได้ให้งบรวมกับรายหัว OP/IP แล้ว และในตอนนี้ สปสช.เพิ่ม On top เฉพาะ นวด ประคบ อบสมุนไพร การดูแลมารดาหลังคลอด และสมุนไพร ED เท่านั้น และการให้บริการผู้ป่วย UC ไม่สามารถเรียกเก็บค่าบริการกับผู้ป่วย เพราะถือว่าเป็นสิทธิของผู้ป่วย
2. รพ.สต.ไม่มีนักการแพทย์แผนไทยจะเปิดบริการและเบิก On top กับ สปสช.ได้หรือไม่? สามารถเปิดบริการและรับ On top ได้โดยประสานกับ สสจ. ประเมินตามภาคผนวก 6 ของหน่วยปฐมภูมิ และแจ้งขอรหัสการบันทึกข้อมูลแพทย์แผนไทยผ่านทาง สสจ. เช่นกัน โดยให้ ข้าราชการ ใน รพ.สต.เป็นผู้ตรวจและสั่งการรักษาได้ ต่างกับสิทธิสวัสดิการข้าราชการ ต้องมีแพทย์ แพทย์แผนไทยสั่งการรักษา และมี ผช. 330 ขึ้นไปให้บริการเท่านั้น
3. รพ.สต.บันทึกผลงานเบิก On top กับ สปสช.ได้รับงบประมาณอย่างไร? คิดตามเกณฑ์ Point คูณค่า K ของหน่วยบริการโดยเป็น Global ระดับประเทศ เงินจะถูกโอนไปที่แม่ข่ายโดยระบุรายละเอียดแยก รพ.สต.ในเครือข่ายให้ แม่ข่ายโอนงบประมาณตามผลงานให้ลูกข่ายต่อไป
4. แม่ข่ายไม่โอนงบประมาณ ตามผลงานให้ รพ.สต. จะดำเนินการอย่างไร? 1.หน่วยบริการทุกแห่งสามารถตรวจสอบการโอนงบประมาณของ สปสช.ได้ ทาง http://ucapps1.nhso.go.th/budgetreport/ เลือกปีงบประมาณ /สปสช.เขต /จังหวัด/แม่ข่าย แล้วไป Download รายละเอียดการโอนมาตรวจสอบได้ 2. ประสานแม่ข่ายเพื่อขอรับงบประมาณ 3. หากประสบปัญหา แจ้ง สสจ. หรือ สปสช.เขต. ต่อไป
5. สปสช.จะมีงบพัฒนาการแพทย์แผนไทยให้หน่วยบริการหรือไม่ อย่างไร? ไม่มีงบประมาณตรงลงหน่วยบริการ แต่ในปีงบประมาณ 53-54 มีงบประมาณสนับสนุนระดับจังหวัด ให้พัฒนาและแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด และ งบประมาณบูรณาการกองทุนปฐมภูมิงบพัฒนาบุคลากรผู้ช่วยแพทย์แผนไทย 80 คน จ้างนักการแพทย์แผนไทยฯ 7 คน ปีงบประมาณ 2555 จะมีงบพัฒนาฯ ในระดับเขต โดยจะบริหารโดยคณะกรรมการแพทย์แผนไทยฯของเขต ซึ่งมาจาก สสจ. และ รพ. พิจารณา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์ สปสช.เขต 5 ราชบุรี