770 likes | 1.52k Views
Coxsackievirus Disease. ลักษณะโรค. Vesicular Pharyngitis ( Herpangina ) มีไข้ทันที เจ็บคอ และเกิดตุ่มพองที่ปาก ลำคอ ลิ้นไก่ บนเพดานอ่อนส่วนหลัง และทอนซิล ต่อมาจะแตกเป็นแผลอยู่ 4-6 วัน . ลักษณะโรค. โรคมือ เท้า ปาก (Hand, Foot and Mouth Disease /Vesicular Stomatitis with exanthem ).
E N D
ลักษณะโรค • Vesicular Pharyngitis (Herpangina) มีไข้ทันที เจ็บคอ และเกิดตุ่มพองที่ปาก ลำคอ ลิ้นไก่ บนเพดานอ่อนส่วนหลัง และทอนซิล ต่อมาจะแตกเป็นแผลอยู่ 4-6 วัน
ลักษณะโรค • โรคมือ เท้า ปาก (Hand, Foot and Mouth Disease /Vesicular Stomatitis with exanthem)
เชื้อก่อโรค • Vesicular Pharyngitis– Coxsackiesvirus Group A, Types1-10, 16 และ 22 • โรคมือ เท้า ปาก Coxsackiesvirus Group AType A16, 4, 5 , 9, 10 Group B Types 2, 5 และ Enterovirus 71
การเกิดโรค • พบได้ทั่วโลก ส่วนใหญ่ในเด็ก <10 ปี แหล่งรังโรค คน
วิธีการแพร่เชื้อ สัมผัสโดยตรงและหายใจ ทั้งจากน้ำมูก น้ำลาย อุจจาระของผู้ติดเชื้อ
ระยะฟักตัว รับเชื้อ ป่วย 3-5 วัน
ระยะติดต่อของโรค ช่วงแรกของการป่วย จนถึงหลายสัปดาห์ ความไวต่อการรับเชื้อ เกิดภูมิในซีโรทัยป์เดียวกัน
วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • ลดการสัมผัสจากคนสู่คน ให้สุขศึกษา เน้นล้างมือ
มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรายงาน : รายงานเจ้าหน้าที่ • การแยกผู้ป่วย : ระมัดระวังสิ่งขับถ่าย • การทำลายเชื้อ : ในอุจจาระและเครื่องใช้ปนเปื้อน • การกักกัน : ไม่มีความจำเป็น • การจัดการในผู้สัมผัส : ไม่มีความจำเป็น • การสอบสวนโรคในผู้สัมผัส และค้นหาแหล่งโรค : • ทำในเด็กก่อนวัยเรียน
มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ไม่มี • มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : WHO Collaborating Centres
ลักษณะโรค • ติดเชื้อแบคทีเรียเฉียบพลันที่ลำไส้ • อาการปวดศีรษะทันทีทันใด ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ และอาเจียน • ทารก และผู้สูงอายุเกิดขาดน้ำรุนแรงได้
สะสมในเนื้อเยื่อให้เกิดฝีสะสมในเนื้อเยื่อให้เกิดฝี • สาเหตุ • ติดเชื้อในข้อ • ถุงน้ำดีอักเสบ • ลิ้นหัวใจอักเสบ • เยื่อหุ้มสมองอักเสบ • เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ • ปอดอักเสบ • ไตหรือกรวยไตอักเสบ
เชื้อก่อโรค SalmonellosisTyphi
การเกิดโรค • แพร่เชื้อจากอาหารที่ทำจากสัตว์- นม เนื้อ • พบในเด็กและทารก
แหล่งรังโรค • สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า – สัตว์ปีก สุกร โค กระบือ สัตว์ฟันแทะ และสัตว์เลี้ยงอื่น ๆ รวมทั้งคน
วิธีการแพร่เชื้อ กินอาหารที่เป็นผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่ติดเชื้อ
ระยะฟักตัว รับเชื้อ ป่วย 6-72 ชั่วโมง (เฉลี่ย 12-36 ชั่วโมง)
ระยะติดต่อของโรค ตั้งแต่หลายวันจนถึงหลายสัปดาห์ ความไวต่อการรับเชื้อ คนทั่วไป ผู้ที่ได้ยาปฏิชีวนะ ทานยาลดกรด ขาดอาหาร
วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • ให้สุขศึกษา เน้นการล้างมือก่อนและหลังปรุง • เก็บถนอมอาหารในตู้เย็น • ปรุงอาหารให้สุก • หลีกเลี่ยงการปนเปื้อนเชื้อในอาหารสุก • รักษาสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมในครัว
วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • ให้สุขศึกษาประชาชนไม่รับประทานอาหารดิบ หรือไข่สุก ๆ ดิบ ๆ หรือไอศกรีมที่ผลิตเองในบ้าน • ใช้ผลิตภัณฑ์จากไข่ที่พาสเจอร์ไรด์ ในอาหารที่ใส่ไข่หลังปรุง • ผู้ที่มีอุจจาระร่วงต้องหยุดปรุงอาหาร • ให้ความรู้แก่ผู้เป็นพาหะ เน้นล้างมือ • สัตว์เลี้ยงเช่น ลูกไก่ ลูกเป็ด เต่ามีความเสี่ยงต่อเด็ก
วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • สร้างเครื่องมือและสนับสนุนการใช้เนื้อสัตว์และไข่ที่ผ่านการอาบรังสี • ตรวจสอบมาตรฐานสุขาภิบาลและให้คำแนะนำโรงฆ่าสัตว์ • จัดทำระบบควบคุม Salmonella • ผลิตภัณฑ์และอาหารสำหรับเลี้ยงสัตว์ควรปรุงให้สุก
มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรายงาน : รายงานใน Class 2 • การแยกผู้ป่วย : เน้นล้างมือ ระมัดระวังการติดเชื้อ • จากผู้ป่วยและสงสัย ผู้มีอาการหยุดปรุงอาหาร • การทำลายเชื้อ : ในอุจจาระและเครื่องใช้ปนเปื้อน • การกักกัน : ไม่จำเป็น • การจัดการในผู้สัมผัส : ไม่มี • การสอบสวนโรคในผู้สัมผัส และค้นหาแหล่งโรค : • เพาะเชื้อจากผู้สัมผัส
มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ให้สารน้ำ และเกลือแร่ป้องกัน
มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ไม่ให้ยาปฏิชีวนะในพาหะ • ผู้มีภูมิคุ้มกันต่ำ ควรได้ยา เช่น Ciprofloxacin เด็กใช้ Ampicillinหรือ Amoxy
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : • ซักประวัติการปรุงอาหาร • ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น : ในกรณีทำอาหารจำนวนมากและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ดี • มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : • WHO Collaborating Centres
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : • ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น : โอกาสระบาดสูงในพื้นที่แออัด สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม • มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : • ต้องแจ้ง WHO • ตรวจพาหนะ เช่น เรือ เครื่องบิน ที่มาจากพื้นที่เกิดโรค • ควรให้วัคซีนกินเมื่อต้องเข้าพื้นที่ระบาด
ลักษณะโรค • ติดเชื้อแบคทีเรียเฉียบพลันที่ลำไส้เล็กส่วนปลาย • ถ่ายอุจจาระเหลวปริมาณไม่มาก ไข้ คลื่นไส้ และมีโลหิตเป็นพิษ (Toxaemia) อาเจียน ตะคริว และกล้ามเนื้อเกร็ง • ลักษณะเฉพาะ อุจจาระมีเลือดหรือมูกปน • หายได้เองภายใน 4-7 วัน
เชื้อก่อโรค Shigellaมี 4 สปีชีร์ คือ A (S.dysenteriae) เกิด HUS ได้ B (S.Flexneri) เกิดพยาธิสภาพที่ข้อ C (S.Boydii) D (S.Sonnei) ทำให้เกิดโรคที่เยื่อบุลำไส้
วิธีการแพร่เชื้อ Fecal-Oral Transmission
ระยะฟักตัว รับเชื้อ ป่วย 12-96 ชั่วโมง- 1 สัปดาห์ (เฉลี่ย 1-3 วัน)
ระยะติดต่อของโรค ตั้งแต่แสดงอาการจนกระทั่งตรวจไม่พบเชื้อ ปกติ 4 สัปดาห์หลังป่วย ยาปฏิชีวนะช่วยลดการแพร่เชื้อเหลือ 2-3 วัน ความไวต่อการรับเชื้อ • คนทั่วไป • มีอาการรุนแรงในผู้สูงอายุ คนอ่อนแอ ขาดอาหาร • ดื่มนมแม่ป้องกันได้ • วัคซีนกินและฉีด ป้องกันโรคได้ 1 ปี
วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • ให้สุขศึกษา เน้นการล้างมือ จัดให้มีที่ล้างมือ • กำจัดอุจจาระให้ถูกหลัก ใช้กระดาษชำระแทนน้ำ • แหล่งน้ำดื่มต้องสะอาด ฆ่าเชื้อด้วยคลอรีน • ควบคุมแมลงวัน • จัดเตรียมอาหารให้สะอาด • พาสเจอร์ไรส์นม
วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • ควบคุมคุณภาพโรงงานเตรียมอาหาร • อนุญาตให้จับและจำหน่ายอาหารทะเลที่มีการตรวจสอบเท่านั้น • แนะนำผู้ป่วย ผู้ฟักฟื้น พาหะ ให้เข้าใจสุขวิทยาส่วนบุคคล • ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรายงาน : รายงาน Class 2 • การแยกผู้ป่วย : ระมัดระวังการติดเชื้อจากผู้ป่วย • และสงสัย • การทำลายเชื้อ : ในอุจจาระและเครื่องใช้ปนเปื้อน • การกักกัน : แล้วแต่ละประเทศ • การจัดการในผู้สัมผัส : ผู้สัมผัสงดปรุงอาหาร • การสอบสวนโรคในผู้สัมผัส และค้นหาแหล่งโรค : • ค้นหาผู้สัมผัสโดยเฉพาะเกี่ยวกับการปรุงอาหาร ดูแลเด็ก
มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ให้สารน้ำ และเกลือแร่ป้องกัน
มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ให้สารน้ำ กรณีรุนแรง
มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ให้ Tetracycline, Doxycycline, Furazolidone
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : • รายงานทันที • ตรวจหาเชื้อในน้ำ อาหาร และผลิตภัณฑ์นม • ไม่แนะนำให้ใช้ยาปฏิชีวนะ • เน้นให้ประชาชนล้างมือ มีอุปกรณ์เพียงพอ • ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น : โอกาสระบาดสูงในพื้นที่แออัด สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม • มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : • WHO Collaborating Centres
ลักษณะโรค • ติดเชื้อแบคทีเรียทั่วร่างกาย • ไข้สูงลอย ปวดศีรษะอย่างชัดเจน อ่อนเพลีย รู้สึกไม่สบาย เบื่ออาหาร ชีพจรช้า ไอแห้ง ๆ • ผู้ป่วยผิวขาวจะมี Rose Spots ที่ลำตัว • มีอาการท้องผูกมากกว่าท้องเสีย
ลักษณะโรค • ผู้ไม่มีอาการรุนแรง อาการคือ ระบบทางเดินอาหารอักเสบ มีไข้แต่ไม่มีเหงื่อ ประสาทเฉื่อยชา มีหูหนวกเล็กน้อย มีต่อมพาโรติคอักเสบ ลำไส้เล็กมีแผล และทะลุได้ • ก่อนมียาอัตราตาย 10-20% ปัจจุบัน <1%
เชื้อก่อโรค Salmonella Typhiและ Salmonella Paratyphi A และ B
การเกิดโรค ป่วยปีละ 17 ล้านคน ตายปีละ 600,000 คน