1 / 32

Example and Practice I โครงการภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

Example and Practice I โครงการภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง. Session 2. โครงการภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง. ดำเนินการโดยสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ระยะเวลาดำเนินการ : เดือนพฤษภาคม 2551 – เดือนตุลาคม 2552 วัตถุประสงค์ :

steel-hunt
Download Presentation

Example and Practice I โครงการภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Example and Practice Iโครงการภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง Session 2

  2. โครงการภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง • ดำเนินการโดยสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข • ระยะเวลาดำเนินการ: เดือนพฤษภาคม 2551– เดือนตุลาคม 2552 • วัตถุประสงค์: เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและขีดความสามารถของ อปท. องค์กรทั่วไป และภาคีเครือข่าย ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางด้านสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ. Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  3. ขั้นตอนการประเมิน SROI จากประสบการณ์ทำงาน • ทบทวนเอกสารเกี่ยวกับโครงการ • ปรึกษาผู้จัดการและผู้ดำเนินโครงการ • กำหนดขอบเขตในการวิเคราะห์ • ทำแผนที่ผลลัพธ์ • จัดประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • รวบรวมข้อมูล (ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ) • ประเมินมูลค่าผลลัพธ์พร้อมหักลบ Deadweight, Attribution, Drop-off • คำนวณ SROI และวิเคราะห์ความอ่อนไหว Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  4. ขอบเขตในการวิเคราะห์ • ปีที่ทำการศึกษา: 2551 – 2555 (5 ปี) • ครอบคลุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6 กลุ่ม ดังนี้ • นักเรียน • ผู้ปกครอง • พนักงานองค์กร • คนในชุมชน • ภาครัฐ • เจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินงานของหน่วยงานรับทุน หมายเหตุ: จำนวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มภายใต้โครงการภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง เป็นตัวเลขที่ทีมงานสมมติขึ้น เพื่อให้สะดวกต่อการใช้ประกอบการยกตัวอย่างในการอบรมเท่านั้น Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  5. การวิเคราะห์ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงและทำแผนที่ผลลัพธ์ Theory of Change and Outcome Mapping

  6. 1. นักเรียน Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  7. 2. ผู้ปกครอง Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  8. 3. พนักงานองค์กร Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  9. 4. คนในชุมชน Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  10. 5. เจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินงานของหน่วยงานรับทุน Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  11. 6. ภาครัฐ Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  12. การเก็บข้อมูล • ข้อมูลทุติยภูมิ – SES, Child Watch Survey, Health & Welfare Survey การสำรวจสภาวะทางสังคมและวัฒนธรรม การสำรวจพฤติกรรมการเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายของประชากร การสำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากร • ข้อมูลปฐมภูมิ • การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 4 พื้นที่ ได้แก่ จังหวัดตรัง จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดหนองคาย โดยเก็บจากกลุ่มนักเรียน ผู้ปกครอง พนักงานองค์กร คนในชุมชน • การจัดประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  13. ประเด็นคำถามในแบบสอบถามประเด็นคำถามในแบบสอบถาม • การเข้าร่วมกิจกรรมของคนในชุมชน • การเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากฟันผุ • การออกกำลังกาย (ครั้ง/สัปดาห์) • การบริโภค • ผัก/ผลไม้ • น้ำอัดลม • ขนมกรุบกรอบ • อาหารไขมันสูง

  14. ตัวชี้วัด Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  15. ตัวชี้วัด (ต่อ) Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  16. Outcome Incidence

  17. Deadweight และ Attribution

  18. Drop-off

  19. มูลค่าตัวแทนทางการเงิน (Financial Proxy) Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  20. มูลค่าตัวแทนทางการเงิน (Financial Proxy) (ต่อ) Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  21. มูลค่าตัวแทนทางการเงิน (Financial Proxy) (ต่อ) Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  22. การประเมินมูลค่าทางสังคมการประเมินมูลค่าทางสังคม Social Valuation Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  23. ศาสนา สัมพันธภาพทางสังคม การใช้เวลากับครอบครัว Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  24. การประเมินสุขภาวะ (Well-being Valuation) • วัตถุประสงค์ของการศึกษาในส่วนนี้คือเพื่อหาความเชื่อมโยงระหว่างรายได้ สัมพันธภาพทางสังคม (Social Relationship) การใช้เวลากับครอบครัว ศาสนา/วัฒนธรรม และสุขภาวะ (Well-being) • ประมาณค่าสมการ Subjective Well-being ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรต่างๆ เช่น รายได้ สัมพันธภาพทางสังคม การใช้เวลากับครอบครัว การปฏิบัติกิจทางศาสนาและวัฒนธรรม และตัวแปรทางเศรษฐกิจและสังคม • คำนวณราคาเงา (Shadow Price) ของตัวแปรต่างๆ Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  25. วิธีการศึกษา • แบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา (Blanchflower and Oswald, 2004; Powdthavee, 2007) ค่าความคลาดเคลื่อน สุขภาวะ (Self-reported number) ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม สัมพันธภาพทางสังคม; ศาสนา; การใช้เวลากับครอบครัว รายได้ Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  26. วิธีการศึกษา (ต่อ) • การประเมินมูลค่าสัมพันธภาพทางสังคมและตัวแปรอื่นๆสามารถทำได้โดยประมาณค่าสมการดังต่อไปนี้ vector ของตัวแปรต่างๆซึ่งมีผลต่อสุขภาวะ ความพึงพอใจในชีวิตของบุคคล i รายได้ครัวเรือน สัมพันธภาพทางสังคม; ศาสนา; การใช้เวลากับครอบครัว Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  27. ราคาเงา (Shadow Price) • ในการคำนวณราคาเงา มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรรายได้ จะต้องมีค่าเป็นบวกและมีนัยสำคัญทางสถิติ • ตัวอย่างการให้ความช่วยเหลือผู้อื่น ราคาเงาของการให้ความช่วยเหลือผู้อื่นบางครั้งมีค่าเทียบเท่ากับรายได้ส่วนเพิ่มที่จะต้องให้กับคนที่ไม่ได้ให้ความช่วยเหลือผู้อื่นเพื่อให้คนสองคนนี้มีระดับความพึงพอใจที่เท่ากัน Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  28. ผลการศึกษา (บาท/เดือน) Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  29. การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน SROI Analysis

  30. ผลการวิเคราะห์ SROI Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  31. มูลค่ารวมทั้งหมดต่อปีมูลค่ารวมทั้งหมดต่อปี Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  32. ผลวิเคราะห์ความอ่อนไหวของค่า SROI Example I ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

More Related