290 likes | 522 Views
PMQA เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( Public Section Management Quality Award). What is PMAQ ?. PMQA หมายถึง รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( Public Section Management Quality Award). Why must be PMAQ ?.
E N D
PMQAเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(Public Section Management Quality Award)
What is PMAQ ? PMQA หมายถึง รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Section Management Quality Award) Why must be PMAQ ? PMQAเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ผลักดัน พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการให้บรรลุผล
เกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)เกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐกับการพัฒนาระบบราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล พัฒนา องค์กร คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ Blueprint for Change 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ Redesign Process การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Capacity Building 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ Knowledge Management e-government MIS
ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects) ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
Yes การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) No ได้รับรายงานป้อนกลับ ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ สมัครเข้ารับรางวัล PMQA
บุคลากรมีส่วนสำคัญต่อความสำเร็จ/ล้มเหลวของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐบุคลากรมีส่วนสำคัญต่อความสำเร็จ/ล้มเหลวของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • ผู้บริหาร - ชี้นำ ผลักดัน และส่งเสริม • Change Agent - ผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง • ผู้ตรวจประเมินภายใน - ประเมินองค์กรและชี้ให้เห็นประเด็นที่ควรปรับปรุง • วิทยากรตัวคูณ - ขยายผลสร้างความรู้ความเข้าใจ
การสนับสนุนด้านการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงาน ก.พ.ร. ความสามารถในการขยายผลสร้างความรู้ความเข้าใจ หลักสูตรวิทยากรตัวคูณ ความสามารถ ในการประเมิน องค์กรและชี้แนะประเด็นปรับปรุง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์ หลักสูตรผู้ตรวจประเมินภายในองค์กร ความรู้ความเข้าใจเบื้องต้น Road Show
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ vs. พรฎ. vs. ISO vs. PSO ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 8) [ISO 6.2, 6.4,7.2] <PSO 1104> การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ (พรฎ. หมวด 2, 3) [ISO 5.4] <PSO 1103, 06, 09> การนำองค์กร (พรฎ. หมวด 2, 5, 7, 8) [ISO 5.1, 5.3, 5.5, 5.6, 8.5] <PSO 1103, 05, 06, 09,10> ผลลัพธ์ การดำเนินการ (พรฎ. หมวด 3, 4, 8) [ISO 8.2, 8.4] <PSO 1108, 2101> การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พรฎ. หมวด 2, 5, 6, 7) [ISO 5.2, 7.2] <PSO 1102, 07> การจัดการกระบวนการ (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 7) [ISO 7.2, 7.3, 7.4, 7.5] <PSO 1107> การวัด การวิเดราะห์ และการจัดการความรู้ (พรฎ. หมวด 3, 5, 7, 8) [ISO 8.4] <PSO 1101, 05>
เกณฑ์มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ครอบคลุมทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ เกณฑ์สามารถปรับใช้ได้ตามภารกิจของหน่วยงาน เพื่อเสริมสร้างให้ส่วนราชการทำการปรับปรุงทั้งอย่างค่อยเป็นค่อยไปและอย่างก้าวกระโดด เกณฑ์มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกันภายในเกณฑ์เพื่อให้เกิดการ บูรณาการ เชื่อมโยงและใช้ตัวชี้วัดที่มาจากยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และกระบวนการ ซึ่งจะเชื่อมโยงกับผลลัพธ์การดำเนินการโดยรวม และระหว่างหัวข้อต่าง ๆ ในเกณฑ์ ลักษณะสำคัญของเกณฑ์คุณภาพระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
การประเมินคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการประเมินคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • มิติด้านกระบวนการ • มิติด้านผลลัพธ์
มิติกระบวนการ • “กระบวนการ’’หมายถึง วิธีที่องค์กรใช้และปรับปรุง เพื่อตอบสนองข้อกำหนดต่างๆ ของหัวข้อในหมวด 1-6 ปัจจัยทั้ง 4 ที่ใช้ประเมินกระบวนการ ได้แก่ • แนวทาง (Approach - A) • การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) • การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning - L) • การบูรณาการ (Integration - I)
“ผลลัพธ์”หมายถึง ผลผลิต และผลลัพธ์ขององค์กร ในการบรรลุตามข้อกำหนดในหัวข้อ 7.1 – 7.4 มิติผลลัพธ์ • ระดับ • แนวโน้ม • การเปรียบเทียบ • ความครอบคลุม
เกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)เกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
เกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)เกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) ลักษณะสำคัญขององค์กร 1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสาธารณะ ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ • การกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยม ทิศทาง ผลการ ดำเนินการที่คาดหวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ • การสร้างบรรยากาศการให้อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรมและความคล่องตัว • การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม • การวัดและการตรวจติดตาม การมีจริยธรรม องค์กร • ความโปร่งใสตรวจสอบได้ • ความรับผิดชอบ • การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ • การทบทวน ผลการดำเนินการ • การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการ • การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม • การดำเนินการต่อความกังวลของสาธารณะ • การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ก. การจัดทำ แผนปฏิบัติการและ การนำแผนไปปฏิบัติ • การจัดทำแผนปฎิบัติการ การนำแผนไปปฎิบัติ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากร • การตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง • แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล • การคาดการณ์ผลการดำเนินการ • เกณฑ์เปรียบเทียบ ที่สำคัญต่างๆ • เป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์และกรอบเวลา ในการบรรลุ • ความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด • การวางแผนยุทธ-ศาสตร์และกลยุทธ์ • การนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวางแผน
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การกำหนดกลุ่มผู้รับบริการ • การรับฟังและเรียนรู้เพื่อกำหนดความต้องการของผู้รับบริการ • การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ • กลไกหลักๆที่ผู้รับบริการติดต่อส่วนราชการ • กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน • การวัดความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ • การใช้ช้อมูลมาปรับปรุงการดำเนินการ • การติดตามช้อมูลจากผู้รับบริการ
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ข. การจัดการ ความรู้ • การเลือกการรวบรวม ข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และ บูรณาการ • การเลือกและการใช้ ข้อมูลสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ • การวิเคราะห์เพื่อประเมินผลการดำเนิน-การและแผนเชิงกลยุทธ์ • การสื่อผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ • การทำให้ข้อมูลและ สารสนเทศพร้อมใช้งาน • การเปิดเผยข้อมูลและ สารสนเทศ • ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ มีความเชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย • การจัดการความรู้ • การทำให้มั่นใจว่า ข้อมูลและสารสนเทศ ถูกต้อง ทันการณ์ เชื่อถือได้ ปลอดภัย แม่นยำ และเป็นความลับ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบบริหารงานบุคคล 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. การจัดระบบบริหารงาน บุคคล ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร • การจัดระบบและบริหารงานเพื่อให้เกิดความร่วมมือ และความคล่องตัว • การนำความคิดที่หลากหลายมาใช้ในระบบงาน • การประเมินผลและให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อสนับสนุนผลการดำเนินการ • การบริหารค่าตอบแทน รางวัล และสิ่งจูงใจต่างๆ • การกำหนด คุณ ลักษณะและทักษะที่จำเป็น • การสรรหาว่าจ้างการสืบทอดตำแหน่ง • การปรับปรุงสุขอนามัย ป้องกันภัย • การเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน • การกำหนดปัจจัยที่สำคัญต่อความผาสุกความพึงพอใจ และแรงจูงใจ • การบริการ สวัสดิการ และนโยบายสนับสนุนพนักงาน ก. การศึกษา การฝึก อบรม และการพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความก้าวหน้าในงาน • การหาความต้องการในการฝึกอบรม • การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ • การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน • การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสร้างคุณค่า • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน • การกำหนดกระบวนการสนับสนุน • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสนับสนุน • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการสนับสนุน • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร • ผลการบรรลุความสำเร็จของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติงาน • ผลด้านการบูรณาการกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน (*) • ผลความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลตัวชี้วัดที่สำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า • ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน • ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล • ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร • ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร • ผลด้านการสร้างนวัตกรรมและการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ • ผลการเปิดเผยรายงานผลการใช้งบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตรวจสอบได้ • ผลด้านการปฏิบัติตามข้อบังคับและกฎหมาย • ผลด้านการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม การสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารงาน • ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดี (Organizational Citizenship) ในการสนับสนุน ชุมชนที่สำคัญ
งานพิธีมอบรางวัลคุณภาพแห่งชาติงานพิธีมอบรางวัลคุณภาพแห่งชาติ “เมื่อสองปีเศษที่ผ่านมารัฐได้ปฏิรูประบบราชการ หัวใจสำคัญของการปฏิรูประบบราชการไม่ได้อยู่ที่การมีกระทรวง ทบวง กรม มากขึ้นหรือน้อยลง แต่อยู่ที่การให้ ผู้ปฏิบัติราชการทั้งหลายปฏิบัติงานของตนด้วยจิตวิญญาณ ด้วยความมีสำนึก ด้วยความรับผิดชอบ ด้วยความมีประสิทธิภาพ ด้วยความมีวิสัยทัศน์ ด้วยการรู้จักประเมินผล รู้จักการแข่งขัน รู้จักการปรับปรุง รู้จักการพัฒนา ซึ่งสปิริตทั้งหมดที่ว่านี้ คือ สปิริตของรางวัลคุณภาพแห่งชาตินี่เอง ความต่างอยู่ตรงที่ว่าใช้ในระบบของธุรกิจเอกชน ท่านนายกรัฐมนตรีได้ปรารภว่าหากนำไปใช้ในระบบของรัฐ ปรับปรุง ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม และถ้าหากมีรางวัลออกมาได้ว่าหน่วยงานใดได้คุณภาพการปฏิบัติราชการแห่งชาติ หรือบริหารงานรัฐกิจ สู่ความเป็นเลิศได้แล้วไซร้ ประชาชนจะได้รับการตอบสนองและการบริการที่น่าจะดีขึ้นกว่านี้อีกป็นอันมาก ซึ่งรัฐจะต้องคิดอ่านหาทางนำเรื่องนี้ไปปรับปรุงหรือประยุกต์ใช้ในโอกาสต่อไป” นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ประธานในการมอบรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ประจำปี 2547 วันที่ 26 มกราคม 2548
วัฒนธรรมควายคู่-ควายรู้คู่ควายแรง-วัฒนธรรมการเรียนรู้ร่วมกันวัฒนธรรมควายคู่-ควายรู้คู่ควายแรง-วัฒนธรรมการเรียนรู้ร่วมกัน หลักการสร้างคนรุ่นใหม่ให้สามารถ ต้องรวมปราชญ์รวมศาสตร์ที่หลากหลาย ทำงานร่วมรวมพลังทั้งใจกาย เปรียบดังควายไถนาอยู่เคียงคู่กัน ควายหนึ่งคือควายแรงเป็นควายรุ่น ช่วยดันดุนหนุนแรงอย่างแข็งขัน อุตสาหะมานะสร้างสารพัน ร่วมผลักดันพร้อมเรียนรู้คู่องค์กร อีกควายหรือคือควายเฒ่าเรียกควายรู้เปรียบดั่งครูผู้ชี้นำคำสั่งสอน ประคับช่วยประคองให้ไม่สั่นคลอน ดุจภัสสรส่องสว่างหนทางไกล จึงต้องรวมพลังคู่มุ่งสู่หนึ่ง สร้างควายซึ่งรู้คู่แรงแปลงพันธ์ใหม่ เติมความรู้คู่หลักคิดเสริมจิตใจควายพันธ์ไทยก้าวไกลในสากล ธนิตสรณ์ จิระพรชัย พระจอมเกล้าธนบุรี ขอขอบคุณในความเอื้ออาทร
Q & A 0 – 9205 - 3384 คุณเกยูร คณารุ่งเรือง keayoon@dsd.go.th 0 – 1901 - 6799 ว่าที่ร้อยตรีสมศักดิ์ พรหมดำ s_promdum@hotmail.com 0 – 6003 - 5692 คุณสมศักดิ์ สุขวัฑฒโก 0 – 2247 - 0303 Fax. &Tel. http://home.dsd.go.th/msdu msdu@dsd.go.th