850 likes | 1.13k Views
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2554 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส. หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award). รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ. Japan Canada USA Australia EU Singapore Japan
E N D
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2554 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศรางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ Japan Canada USA Australia EU Singapore Japan USA Thailand • Deming Prize (1951) • Canada Award (1984) • Malcolm Baldrige National Quality Award (1987) • Australian Business Excellence Awards (1988) • European Foundation Quality Management (1991) • Singapore Quality Award (1994) • Japan Quality Award (1995) • MBNQA : Education and Healthcare (1999) • Thailand Quality Award (2001)
วัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพวัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ • เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย • หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ • การบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล • เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัดฐาน • การติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ
ระดับความแข็งแรงขององค์กรระดับความแข็งแรงขององค์กร 4
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ภาครัฐ ภาคเอกชน วางยุทธศาสตร์ รางวัลคุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) รางวัลคุณภาพ แห่งชาติ (TQA) • ให้มีการจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดิน • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • สร้างกลไกการผลักดัน การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กับการวัดผลสัมฤทธิ์ครอบคลุม 4 มิติ และให้มีการทำคำรับรองฯ นำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ เกณฑ์คุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ (Criteria) • ให้มีการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี/รายปี • วางวิธีการจัดสรรงบประมาณ • การปรับแต่งองคาพยพของระบบราชการ: • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • คน • เพื่อผลักดันการทำงานตามยุทธศาสตร์ MBNQA MBNQA + พรฎ. GG การควบคุมเชิงยุทธศาสตร์ • วางระบบให้มีการประเมินผลตนเอง การตรวจสอบผลการดำเนินการตามคำรับรอง การวางระบบการบริหารการเงิน การคลัง (GFMIS)
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
พรฎ. ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการกับเกณฑ์คุณภาพPMQA
หลักคิด : 11CoreValues 5 1 การมุ่งเน้นอนาคต (Focus on Future) การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ (Visionary Leadership) 9 6 2 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง (Management By Fact) ความคล่องตัว (Agility) ความรับผิดชอบ ต่อสังคม (Social Responsibility) 3 7 10 การเรียนรู้ของ องค์การและแต่ละบุคคล (Org. & Personal Learning) การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า (Focus on Results & Creating Value) การให้ความสำคัญกับ พนักงานและคู่ค้า (Valuing Employees & Partners) 11 8 4 มุมมองในเชิงระบบ (Systems Perspective) การจัดการเพื่อ นวัตกรรม (Managing For Innovation) ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า (Customer Driven Excellence) 8
หลักการเศรษฐกิจ พอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน มีความรู้ มีคุณธรรม
นโยบายรัฐบาล 4 ป. ประสิทธิภาพ ประหยัด โปร่งใส เป็นธรรม
ค่านิยม หน่วยราชการ
ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
Roadmap การพัฒนาองค์การ 2554 2552 2553 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 หมวด 1 :การนำองค์กร จังหวัดควรมี กระบวนการนำองค์กรที่ดี ซึ่งสอดรับ กับแนวทางการบริหารงานจังหวัดแบบ บูรณาการที่ปรับบทบาทผู้ว่าราชการ จังหวัดให้ทำหน้าที่บริหารงานโดยการ บูรณาการยุทธศาสตร์ แผนงาน/ โครงการ สรรพกำลังและทรัพยากรภาย ในจังหวัด และประสานความร่วมมือ กับทุกภาคส่วนในสังคมอย่างมีทิศทาง และเป้าหมายร่วมกัน หมวด 4: การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ จังหวัดควรมีกระบวนการพัฒนาและปรับปรุงข้อมูล และสารสนเทศที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อใช้ เป็นข้อมูลในการสนับสนุนการดำเนินการตามแผน ยุทธศาสตร์ การติดตามผลการดำเนินงานตามเป้า ประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ของจังหวัด และสนับสนุนการ ตัดสินใจของผู้บริหารจังหวัด รวมทั้งควรมีกระบวนการ ในการจัดการความรู้ในจังหวัด เพื่อให้องค์ความรู้มี การถ่ายทอด/เก็บรักษา/แบ่งปัน เพื่อให้เกิดการแลก เปลี่ยนเรียนรู้ทั่วทั้งจังหวัด 13
ระดับชั้นของเกณฑ์ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร 2 ข้อ 1. การนำองค์กร 7 หมวด 17 หัวข้อ 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 30 ประเด็น ที่ควรพิจารณา ก. การกำหนดทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การควบคุมดูแลให้มีการจัดการภายในที่ดี ค. การทบทวนผล การดำเนินการขององค์กร 90 คำถาม (1) (2)
P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะองค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 14 การปรับปรุงประสิทธิภาพ 15 แนวทางการเรียนรู้ขององค์กร 1พันธกิจและการให้บริการ 1.1 พันธกิจ หน้าที่ 1.2 แนวทางวิธีการให้บริการ 2 ทิศทาง 2.1 วิสัยทัศน์ 2.2 เป้าประสงค์หลัก 2.3 วัฒนธรรม 2.4 ค่านิยม 3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก 5 การดำเนินการภายใต้กฎหมาย 6 โครงสร้างองค์กร 7 องค์กรที่เกี่ยวข้อง 8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 9 สภาพการแข่งขัน 10 ปัจจัยความสำเร็จในการแข่งขัน 11 ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 12 ข้อจำกัดด้านข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • 13 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ • ด้านพันธกิจ • ด้านปฏิบัติการ • ด้านบุคลากร
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ (8)8 การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบ ต่อสังคม (เกิดเหตุการณ์แล้ว) (9)9what การจัดการผลกระทบ 9.1กระบวนการ 9.2เป้าประสงค์ 9.3ตัวชี้วัด 9.4(ค่า)เป้าหมายในการจัดการผลกระทบ (10)10 การจัดการผลกระทบทางลบ (11)11 การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมีจริยธรรม (ปฏิบัติต่อคนภายนอก) (12)12 การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ (1)1 ทิศทาง (2)2 นโยบาย (3)3 การกำกับดูแลตนเองที่ดี (4)4 การทบทวนผลดำเนินการ (5)5 what ตัวชี้วัดสำคัญ 5.1ตัวชี้วัด 5.2ผลการทบทวนที่ผ่านมา (6) การใช้ผลการทบทวนเพื่อจัดลำดับความสำคัญและเพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (7)7 การประเมินผลงานผู้บริหาร How 10 What 2
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ 1.1 แผน 4 ปี 1.2 แผน 1 ปี (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1 ปัจจัยภายใน 2.2 ปัจจัยภายนอก (15)3 what ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 3.2เป้าหมายและระยะเวลา 3.3ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 4.1 แผน 4 ปี 4.2 แผน 1 ปี (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ 6.1 what แผนปฏิบัติการที่สำคัญ 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) (19)7what แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล 7.14ปี 7.21ปี (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ 8.1 what ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2เป้าหมายเปรียบเทียบ RM Individual Scorecard How 5 What 4
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (22)1 การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (23)2 การรับฟังและเรียนรู้ (24)3 การทบทวนปรับปรุงการรับฟังและเรียนรู้ (25)4 การสร้างความสัมพันธ์เพื่อ (26)5 การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ (27)6 การจัดการข้อร้องเรียน (28)7 การทบทวนปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ (29)8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ 8.1การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ (30)9 การติดตามเรื่องคุณภาพบริการ (31)10 การเปรียบเทียบข้อมูลความพึงพอใจ (32)11 การทบทวนปรับปรุงการวัดความพึงพอใจ How 11 What 0
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ข. การจัดการความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ • (41)9 การจัดการความรู้ • (KM) • รวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร • รวบรวมถ่ายทอดจากคนอื่น • แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ • (42)10 การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณสมบัติที่ดี รวมทั้งสิ้น11ประการ • (36)4 what • ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร • ทบทวนผลดำเนินงาน • วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ • (37)5 การสื่อสารผลวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ • เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (33)1 การเลือกและใช้ข้อมูล (34)2 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพื่อ (35)3 การปรับปรุงระบบการวัดผล 3.1 การทบทวนปรับปรุงระบบการวัดผล 3.2 การจัดระบบการวัดผลให้ไวต่อการบ่งชี้ (38)6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ (IT) (39)7 การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ (40)8 การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ KM IT IT How 9 What 1
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.1 ระบบงาน ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (51)9 การพัฒนาบุคลากร (52)10 การให้การศึกษาและฝึกอบรม (53)11 การบริหารการฝึกอบรม (54)12 การพัฒนาบุคลากร (43)1 การจัดการระบบงาน (44)2 การนำวัฒนธรรมและความคิดของบุคลากร และชุมชนมาใช้จัดระบบงาน (45)3 การจัดระบบสื่อสารภายในองค์กร ให้มีประสิทธิผล (46)4 ระบบประเมินผลและการยกย่องชมเชย (47)5 การกำหนดคุณลักษณะและทักษะบุคลากร (48)6 การสรรหาว่าจ้าง รักษาบุคลากร (49)7 การเตรียมบุคลากรและความก้าวหน้าในงาน (50)8 การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นให้มีโอกาสก้าวหน้า (55)13 การส่งเสริมให้นำความรู้และทักษะจากการอบรม มาใช้ในการปฏิบัติงาน (56)14 การประเมินประสิทธิผลของการศึกษาอบรม (57)15 การทำให้บุคลากรพัฒนาตนเอง HR Scorecard How 21 What 0
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.3 ความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร (58)16 การจัดระบบสภาพแวดล้อมการทำงาน (59)17 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ (60)18 การกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกพอใจจูงใจ ของบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (61)19 การสนับสนุนด้านนโยบายสวัสดิการการบริการ (62)20 การประเมินความพอใจบุคลากร (63)21 การเชื่อมโยงผลประเมินความพอใจกับผลลัพธ์องค์กร HR Scorecard
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน (70)7 กระบวนการสนับสนุน 7.1 การกำหนดกระบวนการสนับสนุน 7.2 what กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ (71)8 การจัดทำข้อกำหนด 8.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน 8.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (72)9 การออกแบบกระบวนการสนับสนุน (73)10 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 10.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 10.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (74)11 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด (75)12 การปรับปรุงกระบวนการ (64)1 กระบวนการสร้างคุณค่า 1.1 การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า 1.2 what กระบวนการสร้างคุณค่าที่สำคัญ (65)2 การจัดทำข้อกำหนด 2.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า 2.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (66)3 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า (67)4 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 4.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 4.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (68)5 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด (69)6 การปรับปรุงกระบวนการ How 12 What 6
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผล 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร (76)1 ผลการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ (81)6 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (82)7 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน (83)8 ผลการดำเนินงานด้านงบประมาณและการเงิน (84)9 ผลด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก (85)10 ผลด้านการปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ กฏหมาย (86)11 ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ (87)12 ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล (88)13 ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร (89)14 ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร (90)15 ผลด้าน พฤติกรรมที่มีจริยธรรม ความไว้วางใจที่มีต่อผู้นำ การกำกับดูแลตัวเองที่ดีพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม (77)2 ผลของวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (78)3 ผลของตัวชี้วัดด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี และ การสร้างความสัมพันธ์ (79)4 ผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น (*) (80)5 ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การดำเนินงานพัฒนาองค์กรตามตัวชี้วัดPMQA ปี 54สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส
การดำเนินการตามตัวชี้วัด PMQA ปี 54สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส
การดำเนินการขั้น 1 : ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร • ให้ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กรที่ทำไว้เดิม เนื่องจาก • ให้คณะทำงานมีความเข้าใจเกณฑ์ฯมากขึ้น • ข้อมูลสารสนเทศมีการปรับเปลี่ยนเช่นจำนวนบุคลากรบทบาทหน้าที่ของส่วนราชการความท้าทายของส่วนราชการเป็นต้น • จำเป็นต้องมีการทบทวนและดำเนินการปรับปรุงข้อมูลและสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน และครบถ้วนสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น • จัดทำรายงานสรุปผลคือการตอบ 15 คำถาม(ตามเกณฑ์) โดยใช้ template เดิมของปี 53 (มีการปรับเปลี่ยนบ้างเล็กน้อย)
แนวทางการประเมินผลขั้น 1 : ลักษณะสำคัญขององค์กร • พิจารณาจากเอกสาร/บันทึกการประชุม ที่มีเนื้อหาแสดงถึงการทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร ปี 54 • พิจารณาความครบถ้วนของรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร คือ จำนวนข้อที่ตอบคำถามตามแนวทางที่กำหนด
สำหรับการเริ่มดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เป็นปีแรก
การดำเนินการขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง • คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วย 2 คณะคือ • คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Steering Committee) • คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Working Team)
แนวทางการจัดตั้งSteering Committee ผู้บริหารสูงสุด (นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด) ประธาน รองประธาน ผู้บริหารระดับรอง (ผชช.ว) ผู้บริหารระดับรอง (ผชช.ส) ผู้บริหารระดับรอง (นวก) หน้าที่ : กำหนดนโยบาย กรอบทิศทางการดำเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำปรึกษา Working Team ในการดำเนินการ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามกรอบทิศทาง รวมทั้ง จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร
แนวทางการจัดตั้งWorking Team หัวหน้าคณะทำงาน (รองประธาน Steering Committee) เลขานุการคณะทำงาน เจ้าภาพ (Category Champion) 1..2..3..4..5..6 ผู้ประสานงาน เลขานุการหมวด หน้าที่ : จัดเตรียมข้อมูลและสนับสนุนองค์กรในเรื่องต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการประเมินองค์กร ดำเนินการประเมินองค์กรตามเกณฑ์ จัดทำรายงานผลการดำเนินการขององค์กร วิเคราะห์หาจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง จัดทำแผนปรับปรุงและเสนอผู้บริหารเพื่อให้ความเห็นชอบ
แผนภูมิแสดงโครงสร้างและหน้าที่แผนภูมิแสดงโครงสร้างและหน้าที่ คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Steering Committee) - กำหนดนโนบาย กรอบแนวทาง - ส่งเสริม สนับสนุน และให้คำปรึกษา - ติดตาม เร่งรัดการดำเนินการ หน้าที่ คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับจังหวัด (Working Team) • - จัดเตรียมข้อมูล • - ประเมินองค์กรด้วยตนเอง • วิเคราะห์และประเมินเพื่อหาจุดแข็ง • และโอกาสในการปรับปรุงองค์กร • - จัดทำรายงานผลการดำเนินการ หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6
Working Team 1 Working Team 2 Working Team 3 Steering Committee Working Team 4 Working Team 6 Working Team 5
ผลผลิตระดับขั้นของความสำเร็จ : ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 5 รายงานผลการประเมินองค์กร ด้วยตนเอง /จัดลำดับ OFIs 4 รายงานผลการดำเนินการขององค์กรตามเกณฑ์ฯ 3 • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร 2 • จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 • จัดตั้งคณะทำงาน (Working Team) • จัดทำแผนดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Roadmap) • จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แนวทางที่ 1เป็นการดำเนินการตามแนวทางของกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554ซึ่งเป็นภาคบังคับที่ทุกจังหวัดจะต้องดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้ได้มาตรฐาน แนวทางที่ 2เป็นการสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยมีหลักเกณฑ์และกลไกที่แตกต่างจากกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 35
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ 1.1 ส่วนราชการประจำจังหวัด ประกอบด้วย สำนักงานจังหวัด และส่วนราชการประจำจังหวัดที่เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคและมีหน่วยงานในระดับอำเภอด้วย ได้แก่ ที่ทำการปกครองจังหวัด สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด สำนักงานประมงจังหวัด สำนักงานที่ดินจังหวัด สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1.2 การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการประจำจังหวัดตามข้อ 1.1 ให้พิจารณาครอบคลุมถึงทุกหน่วยงานที่อยู่ในสังกัดของส่วนราชการนั้นๆ 36
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ • กรณีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ให้นำข้อมูลผลการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัด มาใช้ประกอบในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดด้วย • โรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด อาจไม่จำเป็นต้องดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของตัวชี้วัดนี้ เนื่องจากโรงพยาบาลได้มีการนำระบบการรับรองคุณภาพของโรงพยาบาล (Hospital Accreditation : HA) มาใช้แล้วหรือจะนำมาใช้ต่อไป 37
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 2. หากจังหวัดมีความประสงค์จะนำส่วนราชการประจำจังหวัดอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในข้อ 1.1 มาดำเนินการด้วย ให้เป็นไปตามความสมัครใจ 38
การตอบคำถาม บุคลากร เขียนในลักษณะการวิเคราะห์ ไม่จำเป็นต้องทำเป็นตาราง
ตัวอย่าง บุคลากรของหอสมุดเทพนิมิตรมีจำนวนรวม 1,214 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ บุคลากรที่เป็นข้าราชการประจำ ซึ่งมีอยู่ 945 คน คิดเป็นสัดส่วน 78% และลูกจ้างชั่วคราวซึ่งมีอยู่ 269 คน คิดเป็นสัดส่วน 22% ของบุคลากรทั้งหมด ระดับการศึกษาของบุคลากรที่เป็นข้าราชการประจำอยู่ในระดับปริญญาโทขึ้นไปกว่า 70%ส่วนที่เหลือมีการศึกษาในระดับปริญญาตรี สำหรับลูกจ้างชั่วคราวมีระดับการศึกษาโดยเฉลี่ยอยู่ที่ระดับปวส. ถึงปริญญาตรี หอสมุดเทพนิมิตรไม่มีนโยบายที่จะเพิ่มอัตรากำลังที่เป็นข้าราชการประจำในอีก 5 ปีข้างหน้าและมีเป้าหมายที่จะลดจำนวนลูกจ้างชั่วคราวลง 10 % ในอีก 5 ปีข้างหน้า
การตอบคำถาม เทคโนโลยี และอุปกรณ์ ให้ระบุเฉพาะที่สำคัญที่ผลักดันให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ
การตอบคำถาม กฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องให้เลือกเฉพาะกฎหมายที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบบริการหลักของจังหวัดเท่านั้น
หมายเหตุ การกำกับดูแลตนเองที่ดี (Organizational Governance) = การจัดการเพื่อให้เกิดการควบคุมและการตรวจสอบการดำเนินการของส่วนราชการ ในการตอบคำถาม ให้อธิบายโครงสร้างและระบบวิธีการควบคุมเพื่อสร้างหลักประกันในด้าน ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานของส่วนราชการ ความรับผิดชอบในด้านการเงิน และ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ การปกป้องผลประโยชน์ของประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมายเหตุ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย = ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ทั้งทางบวกและทางลบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม จากการดำเนินการของส่วนราชการของท่าน เช่น ประชาชน ชุมชนในท้องถิ่น บุคลากรในส่วนราชการ ผู้ส่งมอบ รวมทั้งผู้รับบริการด้วย แม้ว่าผู้รับบริการเป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แต่ควรแยกผู้รับบริการที่ได้รับผลกระทบโดยตรงออกมาเป็นอีกกลุ่มหนึ่ง เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังได้อย่างชัดเจนในหมวด 3( การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) ความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย= การส่งมอบที่ตรงเวลา การให้บริการที่รวดเร็ว และผู้ให้บริการที่สุภาพ