620 likes | 1.07k Views
Green IT. สุดเขต เชยกลิ่นเทศ ผู้จัดการส่วนถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.) . Green IT Topics. Green IT Trend: Trend Green ICT of the Future แนวโน้มภาครัฐและภาคเอกชน กับการตื่นตัวภาวะโลกร้อน และผลสะท้อนต่อมนุษย์ สิ่งแวดล้อม รวมถึงด้าน IT
E N D
Green IT สุดเขต เชยกลิ่นเทศ ผู้จัดการส่วนถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.)
Green IT Topics • Green IT Trend: Trend Green ICT of the Future • แนวโน้มภาครัฐและภาคเอกชน กับการตื่นตัวภาวะโลกร้อน และผลสะท้อนต่อมนุษย์ สิ่งแวดล้อม รวมถึงด้าน IT • Guideline Green IT policy for Organization
Definition of Green IT Gartner defines as “Encompassing environmentally sustainable IT and the use of IT to contribute to environment preservation” OECD defined as “ICT to reduce environmental load and ICT for using as a promoter to relieve social environment influence” การลดการสูญเสียพลังงานอันเปล่าประโยชน์ รวมไปถึงกระบวนการทุกขั้นตอนของ ICTเช่น การบริหารจัดการทรัพยากรให้คุ้มค่า หรือการลงทุนในเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเกิดมลภาวะต่อโลกน้อยที่สุด
Gartner : Green IT Trend 2009 Ref: Hype Cycle for Emering Technologies, 2009
Green IT/ Green Manufacturing ICT สามารถอำนวยเครื่องมือที่องค์กรสามารถนำมาใช้ เพื่อลดการใช้พลังงาน การบริหารจัดการปริมาณคาร์บอนได้ Gartner, iN2015, RAND, ITRoadmap
Green ICT, Green Computing Focus Areas • Design for Environmental Sustainability • Energy-Efficient Computing • Power Management • Data Center Design, Layout • Server Virtualization • Responsible Disposal and Recycling Regulatory Compliance, Use of Renewable Energy Sources and ECO-Labeling of IT Products
ประเด็นที่สังคมโลกมุ่งเน้นต่อGreen IT Pollution Green ICT CSR (One Source Retail) Global Warming
Approaches to Green ICT Power management Power supply Algorithmic efficiency Green ICT Concerns Storage Virtualization Video Card, Display Terminal Servers Materials recycling
ICT’s Carbon Dioxide Emissions Gartner
ข้อมูลวิจัย: อุตสาหกรรม ICTเกี่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรมICTเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมมีเพียง 6.54 % อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ให้ความสำคัญในการทำวิจัยและพัฒนาด้านการรักษาสิ่งแวดล้อมมากที่สุด 25.89% ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ: รายงานผลสำรวจอุตสาหกรรมICT ของประเทศไทย พ.ศ. 2551
แนวทางการจัดการ ICT เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน Gartner
ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน “ส่งเสริมภาคการผลิตของประเทศไทยให้เข้าถึงและสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อก้าวไปสู่การผลิตและการค้าสินค้าและบริการ ที่ใช้ฐานความรู้และนวัตกรรมและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัยของผู้ประกอบการโดยการสร้างคุณค่าของสินค้าและบริการ(Value Creation) และมูลค่าเพิ่มในประเทศ เพื่อพร้อมรองรับการแข่งขันในโลกการค้าเสรีในอนาคต” แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556
ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน 6.1สร้างความตระหนักและพัฒนาขีดความสามารถด้านICTของผู้ประกอบการเพื่อให้สามารถนำ ICTไปใช้ประโยชน์ในการประกอบธุรกิจ โดยการสร้างแรงจูงใจที่เหมาะสมหรือใช้กลไกความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีการทำโครงงานนำร่องในภาคการผลิตที่มีความพร้อมสูงและนำไปขยายผลสู่ทุกภาคส่วน6.2พัฒนาและบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล6.3 เสริมสร้างความเชื่อมั่นในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มาตรการสนับสนุน แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556
ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน 6.4ส่งเสริมการนำ ICTมาใช้ในภาคการผลิตและบริการที่เป็นยุทธศาสตร์ของประเทศ และไทยมีความได้เปรียบ โดยเฉพาะการเกษตร การบริการด้านสุขภาพ และการท่องเที่ยว6.5ยกระดับศักยภาพในการแข่งขันของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) และวิสาหกิจชุมชน(OTOP)6.6นำICTมาใช้ในมาตรการประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งในระดับองค์กรและประเทศอย่างยั่งยืน มาตรการสนับสนุน (ต่อ) แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การใช้ ICTเพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน นำ ICT มาใช้ในมาตรการประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งในระดับองค์กรและประเทศอย่างยั่งยืน มาตรการส่งเสริมงานวิจัยที่เกี่ยวกับการนำ ICTมาใช้ในการประหยัดพลังงานและ/หรือรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดอุปกรณ์/เครื่องมือ/ระบบ ที่นำไปสู่การลดการใช้พลังงานและ/หรือรักษาสิ่งแวดล้อมในระยะยาวทั้งในระดับองค์กรและประเทศ มาตรการส่งเสริมและนำร่องโครงการที่สามารถลดการใช้พลังงานน้ำมันอย่างเป็นรูปธรรม เช่น โครงการสนับสนุนการทำงานที่บ้าน (Work at home), โครงการส่งเสริมการประชุมทางไกลผ่านระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง, โครงการสนับสนุนการจัดการระบบจราจรโดยใช้ระบบการขนส่งอัจฉริยะ (Intelligent Transport System: ITS) แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556
แนวโน้มภาครัฐและภาคเอกชน กับการตื่นตัวภาวะโลกร้อน และผลสะท้อนต่อมนุษย์ สิ่งแวดล้อม รวมถึงด้าน IT
ผลกระทบของภาวะโลกร้อน (Global Warming) • ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น • การละลายของน้ำแข็งในทะเล • อุณหภูมิที่สูงขึ้น • แนวประการังถูกทำลาย • ฝนตกน้อยลง • ธารน้ำแข็งละลาย • กลายเป็นทะเลทราย • สภาพอากาศที่รุนแรง
ขยะอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศจีนขยะอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศจีน
มาตรการส่งเสริมงานวิจัยในการนำ ICT มาใช้ประหยัดพลังงานและ/หรือรักษาสิ่งแวดล้อม กระทรวง ICT กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เครือข่าย ความร่วมมือ กระทรวงพลังงาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา สมาคมผู้ประกอบการ/สมาคมวิชาชีพฯ
แนวทางการดำเนินงาน Green IT ในองค์กร • หน่วยงานควรมีคู่มือการใช้งาน PC • เช่นปิดเครื่องทุกครั้งหลังใช้งาน ถ้าไม่ใช้เครื่องต้องปิดเครื่องและลุกจากเครื่อง • หน่วยงานควรมีโครงการ Utilize Technology • หนวยงานควรมีโครงการ Virtual Workspace • Virtual Workspace หมายถึง องค์กรเสมือนจริง ผังขององค์กรเป็นแบบแนวราบ เช่น วิธีการ Outsource หรือโครงการ Work at Home
แนวทางการดำเนินงาน Green IT ในองค์กร (ต่อ) • หน่วยงานควรมีโครงการ Recycle Management • ปรับปรุงคุณภาพวัสดุที่ใช้แล้ว ให้กลับมาใช้ใหม่มีคุณภาพดังเดิม • หน่วยงานควรแนวทางในการลดการใช้เครื่องพิมพ์ • โดยสนับสนุนให้มีการใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน กำหนดสิทธิในการพิมพ์ • ควรมีโครงการทำงานที่บ้าน เพื่อลดการลดการเดินทาง
แนวทางการดำเนินงาน Green IT ในองค์กร (ต่อ) • หน่วยงานควรมีแนวทางในการบริหารจัดการ ซากผลภัณฑ์เคื่องใช้ไฟฟ้า หรือ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ • หน่วยงานควรตรวจสอบและเปรียบเทียบปริมาณพลังงานของอุปกรณ์ IT ที่มีในหนวยงานก่อนจัดซื้ออุปกรณ์ใหม่
Concept ของ Cloud Computing (Server)มาใช้ภายในองค์กร (ลดพลังงาน 50%)
Guideline Green IT Policy for Organization • Cooling management • การบริหารจัดการความเย็น และการไหลเวียนของอากาศร้อน-เย็น ในศูนย์คอมพิวเตอร์ • Capacity Management • การบริหารจัดการประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องแม่ข่าย • Demand Management • การบริหารจัดการความต้องการการใช้อุปกรณ์และระบบงาน
Guideline Green IT Policy for Organization(Cont) • Data Center Consolidate • การรวมศูนย์คอมพิวเตอร์ไว้ที่เดียวกัน • Enterprise Architecture • สถาปัตยกรรมโครงสร้างและการบริหารจัดการองค์กร
Guideline Green IT Policy for Organization(ต่อ) • หน่วยงานควรมีการนำระบบประชุมทางไกลผ่านระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง • Tele Presence ถือเป็นนวัตกรรมด้านไอทีที่สามารถตอบรับกับการบริหารจัดการยุคใหม่ • หน่วยงานควรนำเทคโนโลยี Cloud Computing มาใช้ลดการใช้พลัง และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
Guideline Green IT Policy for Organization(Cont) • Green Technology Standardization • การจัดให้มีมาตรฐาน เช่น water mist การป้องกันอัคคีภัยใน Data Center • มาตรฐาน Energy Star 4.0 โครงการ Energy Star ก่อกำเนิดขึ้นในปี 1992 โดย United States Environmental Protection Agency (EPA) แห่งสหรัฐอเมริกา ระบบ Power Management ที่ 40% ภายในปีพ.ศ.2553 60% ภายในปี พ.ศ.2555 และมากกว่า 80% ภายในปี พ.ศ.2557
Green Technology Standardization มาตรฐานการปลอดสารพิษ มาตรฐานการใช้ความถี่ มาตรฐานการผลิตภัณฑ์ของสหภาพยุโรป มาตรฐานการแพร่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กระบวนการผลิตที่คำนึงถึง CO2 มาตรฐานด้านความปลอดภัย มาตรฐานการปลอดสารพิษ มาตรฐานอุตสาหกรรมของไทย มาตรฐานการนำกลับมาใช้ใหม่ มาตรฐานการประหยัดพลังงานไฟฟ้า
Guideline Green IT Policy for Organization(Cont) • Virtualization • จัดให้มีสภาวะการทำงานแบบเสมือน ลดการจัดหา Server ประหยัดพลังงาน ลดความร้อน ลดการบำรุงรักษา
โครงการของกระทรวง ICTที่มีส่วนผลักดันด้านGreen ICT โครงการจัดทำเกณฑ์ราคาพื้นฐานคอมพิวเตอร์ http://www.mict.go.th/comprice โครงการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ICT ไทย มอก. 1956 มอก. 1561 ...
โครงการของกระทรวง ICTที่มีส่วนผลักดันด้านGreen ICT โครงการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ICT ไทย: การกำหนดมาตรฐานรับรองผลิตภัณฑ์ไทยเทียบเท่ามาตรฐานสากล มอก. 1956 มาตรฐานด้านการกำจัดสัญญาณรบกวนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มอก. 1561 มาตรฐานด้านความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ โดย ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (PTEC) สถานีทดสอบการประหยัดพลังงานของผลิตภัณฑ์ICT
โครงการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ ICTไทย: • ทำไม! จึงต้องเลือกเครื่องหมายรับรองของไทย • ขอบเขตความรับผิด-ชอบ • ความชำนาญ/ความเป็นเจ้าของพื้นที่ • การมีส่วนร่วมในการปรับปรุงกระบวนการ • ความสะดวกใช้ภาษาไทยเป็นหลัก • ทำไม! จึงต้องใช้มาตรฐานของไทย • “มาตรฐานของไทย ถูกพัฒนามาบนพื้นฐานทางกายภาพ • ภูมิอากาศ สภาพแวดล้อม ความเป็นอยู่และวิถีชีวิตของไทย • จึงเป็นมาตรฐานที่ดีที่สุดสำหรับคนไทย” มอก. 1956
ก.ไอซีที ร่วมรณรงค์เทคโนโลยีสีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม การใช้หลักการบริหารจัดการ และการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร เพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ควบคุมบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรและพลังงานในองค์กร ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
รัฐมนตรี ICT อาเซียนเห็นชอบความร่วมมือในสาขาใหม่ๆ เน้นการบูรณาการอาเซียนอย่างยั่งยืน ได้แก่ Green ICT, Cyber Education for Children, Mobile Data Roaming, มาตรฐานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การจัดสรรคลื่นความถี่ และ ASEAN Internet Exchangeเป็นต้น
แนวโน้ม Green IT ต่อ ภาคเอกชน
Hot News ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ ช่วยลูกค้า ลดต้นทุน แก้ปัญหาพนักงานขาดทักษะด้วย บริการจัดการระบบจัดเก็บข้อมูลระยะไกล(Data Center) ชูจุดเด่น รายงาน ตรวจสอบ และเตรียมระบบ คุ้มค่า ยืดหยุ่น พบลดค่าใช้จ่ายร้อยละ 35
Hot News ซีเกท (NASDAQ : STX) ส่งฮาร์ดไดรฟ์ รุ่น บาราคูดา กรีน (Barracuda® Green) ซึ่งเป็นไดรฟ์ขนาด 3.5 นิ้วสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มีประสิทธิภาพสูงสุดของอุตสาหกรรมและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่ใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ใช้พลังงานตํ่า(Low-Power Personal Computers) ระบบเครือข่ายภายใต้บ้านที่ใช้ไดรฟ์หลายตัว (Multi-Drive Home Networking Systems)และการจัดเก็บข้อมูลในเครื่องพีซีภายนอก (External PC Storage)
ขอบคุณครับ sutkhet@ega.or.th