650 likes | 1.07k Views
CHARPTER 7. อินเทอร์เน็ต & ระบบสารสนเทศกับองค์กร ( Internet & Information System). สาระการเรียนรู้. 2. อินเตอร์เน็ตคืออะไร. 3. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต. 1. ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต. 4. โปรโตคอลและคำศัพท์ที่ควรรู้. 5. ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต. ความหมายของอินเตอร์เน็ตและความเป็นมา.
E N D
CHARPTER 7 อินเทอร์เน็ต&ระบบสารสนเทศกับองค์กร (Internet & Information System)
สาระการเรียนรู้ 2. อินเตอร์เน็ตคืออะไร 3.การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต 1. ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต 4.โปรโตคอลและคำศัพท์ที่ควรรู้ 5.ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต
ความหมายของอินเตอร์เน็ตและความเป็นมาความหมายของอินเตอร์เน็ตและความเป็นมา อินเตอร์เน็ตคืออะไร เป็นเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก ที่รวมของข้อมูลมหาศาล ทั้งภาพ เสียง วีดีโอ โปรแกรม และอื่น ๆ เป็นช่องทางติดต่อสื่อสารกันด้วยข้อมูลต่าง ๆ เหล่านั้นได้โดยสะดวกรวดเร็วปานสายฟ้าแลบ
ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ตความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต ช่วงแรก เกิดในช่วงตั้งแต่ยุคสงครามเย็นที่สหรัฐได้ เริ่มพัฒนา เครือข่ายสื่อสารทางทหารที่รู้จักกันในชื่อ ARPANET
ลักษณะเครือข่ายเป็นแบบร่างแหลักษณะเครือข่ายเป็นแบบร่างแห
ลักษณะเครือข่ายเป็นแบบร่างแหลักษณะเครือข่ายเป็นแบบร่างแห การเชื่อมต่อ ถูกตัดขาด การเชื่อมต่อ ถูกตัดขาด ข้อมูลถูกส่งตาม เส้นทางอื่นแทน การเชื่อมต่อ ถูกตัดขาด ข้อมูลถูกส่งตาม เส้นทางอื่นแทน
ช่วงที่สอง ต่อมาได้รับการพัฒนาต่อเนื่อง โดยไม่ต้องพึ่งพาโครงสร้างหลักของเครือข่ายทางทหารเดิม ทำให้มีการต่อขยายอินเทอร์เน็ตออกไปทั่วโลก และเปิดในเชิงพาณิชย์อย่างเต็มที่
ประเทศไทย ส่วนในประเทศไทยได้เริ่มเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ แต่เพิ่งจะมีการใช้งานอย่างจริงจังเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมาเมื่อมีการเปิดบริการของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตหรือ ISP กันอย่างแพร่หลาย
การเชื่อต่ออินเตอร์เน็ตการเชื่อต่ออินเตอร์เน็ต ISP นี้อาจเป็นบริษัทหรือหน่วยงานใด ๆ ก็ได้ซึ่งเปิดบริการให้ผู้ใช้ทั่วไปเชื่อมต่อ เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่ายของตน เพื่อต่อกับทางอินเทอร์เน็ตอีกทอดหนึ่ง เครือข่ายอินเตอร์เน็ตทั่วโลกเชื่อมต่อกันโดยหน่วยงานที่เรียกว่า ISP (Internet Service Provider หรือ ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็นเจ้าของและผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกับอินเตอร์เน็ต
1.บริษัทอินเตอร์เน็ตประเทศไทย จำกัด 2.บริษัทเอเชีย อินโฟเน็ท จำกัด 3.บริษัท เคเอสซีคอมเมอร์เชียลอินเตอร์เน็ต จำกัด ผู้ให้บริการ ISP ในเมืองไทย 4.บริษัท เอ-เน็ต จำกัด 5.บริษัท ซีเอส-คอมมูนิเคชั่น จำกัด 6.บริษัท จัสมินอินเตอร์เน็ต จำกัด 7.บริษัท สามารถไซเบอร์เน็ต จำกัด
ผ่านสายโทรศัพท์และโมเด็ม ADSL (Asynchronous Digital Subscriber Line) • ผ่านสายโทรศัพท์และโมเด็ม ISDN (Integrated Service Digital Network การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตที่รับส่งข้อมูลมี ดังต่อไปนี้ • ผ่านสายของเคเบิลทีวี (เช่น UBC )และใช้เคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) • ผ่านสายโทรศัพท์แบบเช่า (Leased line)
MODEM อินเตอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้ Modem ของผู้ใช้ Modem ของ ISP คอมพิวเตอร์ ของISP
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงASDL อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงASDL คอมพิวเตอร์ ของISP คอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้ อุปกรณ์พิเศษ ADSL MODEM ชุมสายโทรศัพท์ อุปกรณ์พิเศษ อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wireless Modem) คอมพิวเตอร์ของISP คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ สถานีฐานของโทรศัพท์มือถือ อินเตอร์เน็ต
โปรโตคอล (Protocol) การทำงานต่าง ๆ ในอินเตอร์เน็ตจะสอดคล้องกันได้ก็ ต้องมีกติกา ที่ทุกเครื่อง ทุกโปรแกรมรับรู้และทำตามเป็นแบบ หรือมาตรฐานเดียวกัน ทั่วโลก ซึ่งเรียก ว่าโปรโตคอล Protocolที่สำคัญก็มีอาทิเช่น TCP/IP และ HTTP
TCP/IP เป็นกติกาหลักสำหรับใช้ในการรับส่งข้อมูลผ่านทางอินเตอร์เน็ตข้อมูลทุกรูปแบบไม่ว่าจากโปรแกรมใดก็ต้องแปลงให้อยู่มาตรฐานของ TCP/IP เสียก่อนจึงจะรับส่งได้
HTTP โปรโตคอลหรือกติกาที่ใช้เรียกดูข้อมูลจากเว็บจะ เรียกว่า Http (HyperText Transfer Protocol)
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต • ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือ internetprovider เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าไอเอสพี (ISP)ย่อมาจาก Internet Service Provider แบ่งออกเป็นหลายประเภท ดังนี้ • การให้บริการแบบครอบคลุมทั้งประเทศ เช่น บริษัททีโอที จำกัด (มหาชน) • การให้บริการบางพื้นที่ เช่น เฉพาะกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล • การให้บริการแบบไร้สาย เช่น บริการ ซีดีเอ็มเอ (CDMA)ของบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด
เบราว์เซอร์ • เบราว์เซอร์ (Browser)หมายถึง โปรแกรมที่ใช้สำหรับเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ ที่อยู่บนเว็บ • ทรัพยากรบนเว็บ ได้แก่ ข้อความ ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว คลิป วิดีโอ • การท่องอินเทอร์เน็ต เรียกว่า การเซิร์ฟ (surf) • เบราว์เซอร์ที่นิยมใช้งาน ได้แก่ • Microsoft Internet Explorer • Mozilla Firefox • Opera • แหล่งที่อยู่ของทรัพยากรบนเว็บเรียกว่า ยูอาร์แอล (URL)
URL • ยูอาร์แอลย่อมาจาก Uniform Resource Locator (URL) • ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ • โพรโทคอล (Protocol) • ชื่อโดเมน (Domain name) • URL ที่ควรรู้จักได้แก่ • www.google.co.th • www.yahoo.com
IP/Address & Domain Name • IP/Address การเรียกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับอินเตอร์เน็ต ซึ่งทางเทคนิคเรียกว่า ”ที่อยู่ IP” หรือ IP Address เป็นตัวเลขล้วน ๆ 4 ชุดมีค่า ระหว่าง 0 – 255 คั่นด้วยจุดปัจจุบันมีถึง IPV6 www.Stjohn.ac.th 202.21.144.1
Domain Name ปกติเครื่องคอมพิวเตอร์เวลาส่งข้อมูลจะส่งไปยัง เครื่องปลายทาง ด้วย IP Address แล้วถ้าหากปกติเราจำ IP Address เราคงไม่สามารรถจดจำ IP Address ได้ดังนั้นเราจึงแปลง IP Address ให้อยู่ในรูป Domain เพื่อให้ง่ายต่อจดจำ www.Stjohn.ac.th 202.21.144.1
Domain Name จะถูปแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ • ชื่อโดเมนที่เป็นองค์กรอยู่ภายในประเทศสหรัฐอเมริกา • 2. ชื่อโดเมนของประเทศต่างๆ ซึ่งเป็นประเทศนอกเหนือจากสหรัฐอเมริกา (ชื่อโดเมนที่เป็นชื่อประเทศจะถูกขยาย โดยการกำหนด ประเภทขององค์กรในประเทศนั้นๆ ซึ่งเรียกว่า "สับโดเมน")
ชื่อโดเมนที่เป็นองค์กรอยู่ภายในประเทศสหรัฐอเมริกาชื่อโดเมนที่เป็นองค์กรอยู่ภายในประเทศสหรัฐอเมริกา
2.ชื่อโดเมนของประเทศต่างๆ ซึ่งเป็นประเทศนอกเหนือจากสหรัฐอเมริกา (ชื่อโดเมนที่เป็น ชื่อประเทศจะถูกขยาย โดยการกำหนด ประเภทขององค์กรในประเทศนั้นๆ ซึ่งเรียกว่า "สับโดเมน")
Word Wide Web • Word Wide Web หมายถึงบริการอินเตอร์เน็ตที่นำเสนอข้อมูล ข่าวสาร และสารสนเทศในรูป Multimedia จากเครื่องคอมพิวเตอร์ของหลายบุคคลที่ต้องการเผยแพร่ให้คนทั่วโลกได้ รับรู้ผ่านทางอินเตอร์เน็ต โดยใช้โปรโตคอลที่ชื่อว่า Http ในการติดต่อสื่อสาร และ คอมพิวเตอร์เหล่านี้จะถูกเรียกว่า “Web Server” ซึ่งกระจายทั่วไป ที่เราสามารเรียกชม ได้ทาง Web Browser เรียกว่า Web Site นั้นเอง
เบราว์เซอร์ • เบราว์เซอร์ (Browser)หมายถึง โปรแกรมที่ใช้สำหรับเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ ที่อยู่บนเว็บ • ทรัพยากรบนเว็บ ได้แก่ ข้อความ ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว คลิป วิดีโอ • การท่องอินเทอร์เน็ต เรียกว่า การเซิร์ฟ (surf) • เบราว์เซอร์ที่นิยมใช้งาน ได้แก่ • Microsoft Internet Explorer • Mozilla Firefox • Opera • แหล่งที่อยู่ของทรัพยากรบนเว็บเรียกว่า ยูอาร์แอล (URL)
http://www.provision.co.th/book/news/catalog.htm ชื่อไฟล์และนามสกุล(catalog.htm) ไดเร็คทอรี(/book/new/) ประเทศไทย(th) ประเภทบริษัท(co คือ company หรือ commercial) ชื่อเน็ตเวคร์กย่อย(Provision) ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์(www) ชื่อโปรโตคอลหรือวิธีการติดต่อที่ใช้กันทั่วไปในการดึงเว็บเพจ
Web Page หมายถึง เอกสารที่ถูกสร้างขึ้นมาด้วยภาษา Html (Hypertext Markup Language) เพื่อนำไปใช้ในการนำเสนอข้อมูลข่าวสารของบริการ www.
Web Site หมายถึง เป็นชื่อเรียก Web Page หลายๆหน้า ที่ถูกจัดเก็บไว้ที่เดียวกันบน Server โดย 1 เว็บไซด์มีได้หลาย Web Page หรือ มีการสร้างฐานข้อมูลและจัดเก็บฐานข้อมูล ไว้บน Server ก็ได้ เรียกว่า Database Server
Home Page หมายถึง หน้าแรกของ WebSite ใดๆ ที่ปรากฏขึ้นมาให้ระบุชื่อของ Web Site
บริการจากอินเตอร์เน็ตบริการจากอินเตอร์เน็ต • E-mail คือ บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ใช้โปรโตคอล POP3 กับ SMTP • Instant Message คือ การพิมพ์ข้อความแบบ Real Time • Telnetคือ การข้อเข้าใช้ระบบจากเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ • FTP (File TransferProtocol)การโอนถ่ายข้อมูล • Chart Room • Internet Telephoneเป็นเทคโนโลยี Voice Over IP • Content Streamingไฟล์ประเภท Multimedia ดูไฟล์วีดีโอเป็นต้น
บริการจากอินเตอร์เน็ตบริการจากอินเตอร์เน็ต • E-Commerce คือ การสั่งซื้อสินค้า Online • E-Auction คือ การประมูลสินค้าผ่านเว็บ e-buy • Multimedia & Sound คือ การดูหนังฟังเพลง เป็นต้น • Online Diaryบันทึกส่วนตัว • Weblogบันทึกเรื่องราวที่เป็นประโยชน์ เขียนบทความ ,การเมือง,วิชาการ เป็นต้น • Web Directoryค้นหาข้อมูลคำศัพท์ต่าง ๆ เช่น ภาษาอังกฤษ , เฉพาะทาง • Search Engineค้นหาข้อมูล Google
Portal Site หมายถึง เว็บเชื่อมโยงจากจุดเพียงจุดเดียวเช่น www.sanook.com , www.kapook.com
ภาษา HTML • เว็บเพจ (Web Page) หมายถึง แต่ละหน้าบนเบราว์เซอร์ที่เชื่อมโยงไปยังทรัพยากรต่างๆ ที่อยู่บนเว็บ • เว็บเพจส่วนใหญ่จะถูกเขียนด้วยภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML) ซึ่งย่อมาจาก Hypertext Markup Language • เบราว์เซอร์จะทำหน้าที่แปลภาษาเอชทีเอ็มแอลไปเป็นเอกสารพร้อมทั้งภาพประกอบ • อาจมีการเชื่อมโยง (Link) ไปยังสารสนเทศรูปแบบอื่น เช่น ภาพ เสียง หรือ คลิปวิดีโอ เป็นต้น
การติดต่อสื่อสาร • อินเทอร์เน็ตใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารส่วนบุคคล หรือระหว่างองค์กร • ชนิดของการติดต่อสื่อสาร • ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมลล์ (E-mail) • ที่อยู่อีเมลล์ (E-Mail Address) • อีเมลล์ขยะ (SPAM) • กลุ่มอภิปราย (Discussion Groups) • โปรแกรมสื่อสาร (Instant Messaging)
เครื่องมือที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลเครื่องมือที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล • โปรแกรมค้นหา (Search engines) • โปรแกรมเมตาเซอร์ช (Metasearch engines) • โปรแกรมค้นหาเฉพาะทาง (Specialized search engines)
เกร็ดความรู้ในการค้นหาเกร็ดความรู้ในการค้นหา • เลือกวิธีการที่เหมาะสม • ใช้คำให้ถูกต้องและเป็นไปได้มากที่สุด • ใช้คำเชื่อมแบบบูลีน พิมพ์คำศัพท์ที่มีคำเหล่านี้เป็นคำเชื่อม เช่น and, not หรือ or • ตรวจสอบคำสะกด • เปลี่ยนคำหลักตามความเหมาะสม
การประยุกต์ใช้ระบบกับการประยุกต์ใช้ระบบกับ ระบบงานสารสนเทศกับองค์กร
สาระการเรียนรู้ 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบงานในองค์กร 1. เทคโนโลยีสารสนเทศและการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็น ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ระบบการ จัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ตลอดจนข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทั้งหมดที่กล่าวมา คือ องค์ประกอบของ “เทคโนโลยีสารสนเทศ” เพื่อให้การแข่งขันทางธุรกิจเพิ่มสูงขึ้นนั้น และประกอบ กับปัจจุบันกระบวนการทางธุรกิจมีความซับซ้อน และมีรูปแบบใหม่ ๆ เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้องค์กร สามารถแข่งขันได้ต้องนำ ITมาช่วยจัดการ เพื่อช่วยในด้านปับกลยุทธ์จนได้เปรียบคู่แข่ง
ระบบสารสนเทศ (Information System)หมายถึง ระบบที่มีการนำองค์ประกอบต่าง ๆ ของ เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ ในการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ แล้วผ่านกระบวนการประมวลผล เพื่อ ให้ได้ผลลัพธ์เป็นสารสนเทศใช้สนับสนุนการตัดสินใจของบุคลากรในองค์กรได้ Feed back Data Processing Information
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบงานในองค์กรการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบงานในองค์กร ระบบงานภายในองค์กร คือ ระบบงานทางธุรกิจทั่วไปที่องค์กรธุรกิจส่วนใหญ่ต้อง ดำเนินการ ซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินธุรกิจของแต่ละองค์กร เช่น ระบบบัญชีเงินเดือน ระบบสินค้าคงคลัง และระบบบัญชี เป็นต้น ตัวอย่างระบบสารสนเทศหรือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของระบบงานต่าง ๆ ในองค์กรดังนี้
ระบบสารสนเทศสำหรับองค์กรระบบสารสนเทศสำหรับองค์กร 1.ระบบประมวลผลรายการข้อมูล (Transaction Processing System:TPS) 2.ระบบการวางแผนทรัพยากรภายในองค์กร (Enterprise Resource Planning System:ERP) 3.คลังข้อมูล (Data Warehouse) 4.ระบบการจัดการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer Relationship Management:CRM) 5.ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation System:OAS) 6.ระบบสารสนเทศในโรงงาน (Factory Automation)
1.ระบบประมวลผลรายการข้อมูล (Transaction Processing System:TPS) เป็นระบบที่ช่วยในการประมวลผลรายการข้อมูลทุกครั้งที่มีการนำเข้าสู่ระบบ โดยข้อมูล จากการดำเนินงานประจำวันของธุรกิจ TPS ยังช่วยจัดเก็บและดูและข้อมูลได้อย่างดี ตัวอย่างระบบ TPS ได้แก่ ระบบจัดซื้อวัตถุดิบ , การซื้อ-ขายสินค้า , การส่งสินค้า , การจองตั๋วลงทะเบียน การออกใบ แจ้งรายการสินค้า เป็นต้น ตามภายจำลองการทำงาน
3 แฟ้มและฐานข้อมูล (File and Database Processing) การประมวลผลข้อมูล (Transaction Processing) เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Print Laser) 4 Transaction 1 ข้อมูลเข้า (Data Entry) 2 เอกสารและรายงาน (Document and Report Generation) 5 เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง (Inquiry Processing)
2.ระบบการวางแผนทรัพยากรภายในองค์กร (Enterprise Resource Planning System:ERP) Enterprise Resource Planning หรือ ERP เป็นระบบการวางแผนจัดการทรัพยากรในองค์กร ไม่ว่าจะเป็น วัตถุดิบ, บุคคล, และเวลารวมไปถึงข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกับ การดำเนินกิจกรรมในระบบธุรกิจ ระบบนี้มีรูปแบบการบริหารทรัพยากรแบบร่วมหน่วย ซึ่งมุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ภายใต้ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบการสื่อสารข้อมูล และการเชื่อมโยงกิจกรรมที่แตกต่างกันไว้ด้วยกัน