1 / 24

ดร. สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง Worldtrade Management Services PricewaterhouseCoopers

สัมมนาเชิงวิชาการ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : อนาคตที่ต้องสร้าง. ดร. สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง Worldtrade Management Services PricewaterhouseCoopers 20 มิถุนายน 2550. หัวข้อ.

Download Presentation

ดร. สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง Worldtrade Management Services PricewaterhouseCoopers

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สัมมนาเชิงวิชาการ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : อนาคตที่ต้องสร้าง ดร. สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง Worldtrade Management Services PricewaterhouseCoopers 20 มิถุนายน 2550 <footer>

  2. หัวข้อ • บริบทของประชาคมอาเซียน - การรวมตัวของเอเชีย • การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ • เป้าหมายของอุตสาหกรรมในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • ปัญหาการดำเนินการ • แนวทางแก้ไข <footer>

  3. การรวมตัวของเศรษฐกิจเอเชียการรวมตัวของเศรษฐกิจเอเชีย <footer>

  4. การรวมตัวของเอเชีย • - เอเชียเป็นศูนย์กลางของความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในทศวรรษหน้านี้ • อาเซียนเป็นส่วนหนี่งของการเปลี่ยนแปลงนี้ ได้รับทั้งผลทางบวกและทางลบ • การรวมตลาดอาเซียนเป็นกลยุทธที่จะการปรับตัวให้พร้อมทั้งรับและรุก • การรวมตลาดทำได้ในบางอุตสาหกรรม • นักธุรกิจในประเทศไทยต้องปรับปรุง ความรู้ ความสามารถในการดำเนินธุรกิจ <footer>

  5. สัดส่วนของมูลค่าการค้าสินค้าระหว่างภาคพื้นต่าง ๆ ในโลก 2548 ที่มา WTO, Trade Statistics, 2006. <footer>

  6. จำนวนการเจรจาการค้าที่กำลังดำเนินการอยู่ทั่วโลกจำนวนการเจรจาการค้าที่กำลังดำเนินการอยู่ทั่วโลก <footer>

  7. การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ <footer>

  8. การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ • ความเข้มแข็งของเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับ • นักธุรกิจที่เข้มแข็ง • โครงสร้างพื้นฐาน เช่น ระบบการคมนาคม ระบบสื่อสาร สาธารณูปโภคการศึกษา • นโยบายสนับสนุนที่เข้มแข็ง • นักธุรกิจที่มีความสามารถ • ความรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมของตัวเอง • ความเข้าใจการการบริหารธุรกิจข้ามพรมแดน • ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ • การปรับรูปแบบการดำเนินการทางธุรกิจ เช่น ... <footer>

  9. การสร้างประโยชน์จากการเปิดการค้าเสรีการสร้างประโยชน์จากการเปิดการค้าเสรี ก่อนลดภาษี ประเทศ ไทย ประเทศ มาเลเชีย บริษัท ก - ผลิตและส่งออก บริษัท ข นำเข้าและจัดจำหน่าย นำเข้า/ขาย 100,000 ชิ้น ราคา 1,000 บาท/ชิ้น ภาษี 20% = 200 บาท/ชิ้น ขายชิ้นละ 1,300 บาท กำไร ชิ้นละ 100บาท กำไรรวม 10,000,000 บาท ผลิต/ส่งออก 100,000 ชิ้น ราคา 1,000 บาท/ชิ้น กำไร ชิ้นละ 100 บาท กำไรรวม 10,000,000 บาท <footer>

  10. การสร้างประโยชน์จากการเปิดการค้าเสรีการสร้างประโยชน์จากการเปิดการค้าเสรี หลังลดภาษี ประเทศ ไทย ประเทศ มาเลเชีย บริษัท ก - ผลิตและส่งออก บริษัท ข นำเข้าและจัดจำหน่าย นำเข้า/ขาย 110,000ชิ้น ราคา 1,000 บาท/ชิ้น ภาษี 0% = 0 บาท/ชิ้น ขายชิ้นละ 1,200 บาท กำไร ชิ้นละ 200 บาท กำไรรวม 20,000,000 บาท ผลิต/ส่งออก 110,000ชิ้น ราคา 1,000บาท/ชิ้น กำไร ชิ้นละ 100บาท กำไรรวม 11,000,000บาท เรื่องจบเพียงเท่านี้? <footer>

  11. บริษัท ก จะทำอะไร? บริษัท ข จะทำอะไร? • ขอขึ้นราคาขายให้ ข • ขึ้นค่าใช้จ่าย เพื่อเก็บเงินขาก ข มากขึ้น • ขอร่วมทุนกับ ข • เปิดบริษัท ในประเทศมาเลเชียเพื่อนำเข้าและขายสินค้าของ ก เอง • ซื้อกิจการของ ข. • ต่อราคาให้ถูกลง เพราะซื้อมากขึ้น • หาผู้ขายรายใหม่จากประเทศไทย • ร่วมทุนกับ ก เพราะตอนนี้มีเงินทุนมากขึ้น • ร่วมทุนกับบริษัทอื่น ถ้าหาก ก ไม่ร่วมมือ • ซื้อบริษัท ก <footer>

  12. เป้าหมายของอุตสาหกรรมในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป้าหมายของอุตสาหกรรมในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน <footer>

  13. การวางกลยุทธของอุตสาหกรรมการวางกลยุทธของอุตสาหกรรม • 12 อุตสาหกรรมมีความสำคัญด้านกลยุทธทางเศรษฐกิจของอาเซียน และต่อประเทศไทย เช่น เกษตรอุตสาหกรรม ยานยนตร์ สิ่งทอ การท่องเที่ยว เป็นต้น • พิจารณาการสถานะภาพทิศทางและการเปลี่ยนแปลงของสินค้านั้นในตลาดโลก ในเอเชีย ในอาเซียน ที่จะมีต่อตลาดของไทย • กำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน ที่ยอมรับกันได้ คือมีได้ มีเสีย • ทำแผนปฏิบัติการ (Implementation Plan) • กำหนดเป้าหมายในระยะเวลาต่าง ๆ (Road Map) <footer>

  14. อุตสาหกรรมยานยนตร์ • ในทศวรรษหน้า ความสำคัญของในอุตสาหกรรมจะย้ายจากการผลิต/ประกอบรถยนต์ ไปสู่การผลิตชิ้นส่วน เทคโนโลยีจะเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วน • จะมีการรวมตัวกันมากขึ้นในระดับโลก ทำให้มีผู้ผลิตจำนวนน้อยรายลงในชิ้นส่วนต่าง ๆ • การผลิตชิ้นส่วนที่ใช้เหล็กจะย้ายฐานจากอเมริกามาเอเชียหรือยุโรปตะวันออกซึ่งค่าพลังงานถูกกว่า • อุตสาหกรรมชิ้นส่วนที่ทำจากเหล็กในอาเซียนจะถูกกระทบอย่างมาก • ทางเลือก : ก. เตรียมปกป้องอุตสาหกรรมชิ้นส่วน ข. บริษัทชิ้นส่วนในไทยเริ่มหาทางซื้อบริษัทชิ้นส่วนในจีนหรือร่วมทุนวิธีอื่น ๆ <footer>

  15. อุตสาหกรรมยานยนตร์ (ต่อ) • ถ้าทางเลือกคือ ข. ทิศทางเป้าหมายคือการร่วมทุนในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนกับประเทศจีน (และประเทศอื่นๆ) การเจรจาการค้าก็ต้องเน้นเรื่อง • การเปิดอุตสาหกรรมนี้ให้อาเซียนเข้าไปลงทุนได้ • การขอการอำนวยความสะดวกในการค้า การลงทุน • การขอให้การโอนกำไร(ซึ่งเสียภาษีแล้ว)เข้าออกโดยไม่มีข้อจำกัด ฯลฯ • การเปิดการค้าการลงทุนเสรีในอาเซียนเองอาจจะเป็นเป้าหมายรอง • การร่วมมือกันเพื่อไปลงทุนในจีน หรือ ในประเทศอื่น • Road Map ของ ประชาคมอาเซียนอาจจะต้องทบทวนใหม่ แต่อาจจะต้องค่อย ๆ ทำไป <footer>

  16. ปัญหาการดำเนินการ <footer>

  17. เสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนในเอเชียเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนในเอเชีย • เอเชียยังไม่มีเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน เป็นอันตรายต่ออนาคต • อาเซียนก็ยังเล็กเกินกว่าที่จะสร้างเสถียรภาพในอัตราแลกเปลี่ยนได้ • จีนและญี่ปุ่นเองก็ไม่สามารถทำอะไรด้วยตัวเองได้เมื่อถูกแยกเจรจา • ดังนั้น กิจกรรมสำคัญอันดับแรกของความร่วมมือในภูมิภาคนี้คือการทำระบบอัตราแลกเปลี่ยนของเอเชีย <footer>

  18. ปัญหาความร่วมมือด้านการค้าและการลงทุนปัญหาความร่วมมือด้านการค้าและการลงทุน • การค้า • ยังไม่มีการประสานนโยบายอุตสาหกรรม ทำให้มีการแข่งขันกันเอง • การเจรจาการค้าระหว่างอาเซียนติดรูปแบบของ WTO มากเกินไป ต้องพัฒนาวิธีการซึ่งเหมาะสมกับปัญหา • การลงทุน • นักธุรกิจในอาเซียนยังไม่ค่อยพร้อมที่จะไปลงทุนในต่างประเทศ • ปัญหา ชาตินิยมทางเศรษฐกิจ (Economic nationalism) – ไม่ต้อนรับเพื่อนบ้าน แต่ไปเชิญนักลงทุนจากมหาอำนาจต่าง ๆ <footer>

  19. มูลค่าการลงทุน (หน่วย : ล้านเหรียญสรอ.) <footer>

  20. แนวทางแก้ไข <footer>

  21. การสนับสนุนการทำธุรกิจในอาเซียนการสนับสนุนการทำธุรกิจในอาเซียน • สร้างบรรยากาศให้เกิดความตื่นตัวในการไปทำธุรกิจในอาเซียน • ด้านข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ทั้งด้านสังคม การเมือง และธุรกิจของประเทศอาเซียนมากขึ้น • ช่วยลดความเสี่ยง • สนับสนุนข้อมูลเฉพาะเรื่องสำหรับผู้ที่จะไปทำธุรกิจในประเทศอื่น เช่น ข้อมูลการตลาดของสินค้า บริษัทที่ดำเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมนั้น ๆ เป็นต้น • สนับสนุนการทำธุรกิจร่วมกัน เช่น ช่วยตรวจสอบคู่ค้า หรือ บริษัทเป้าหมาย เป็นต้น • ช่วยลดค่าใช้จ่าย • เงินอุดหนุนช่วยลดภาระในการลงทุนในการเริ่มธุรกิจ <footer>

  22. การสร้างนักธุรกิจอาเซียนการสร้างนักธุรกิจอาเซียน • ช่วยนักธุรกิจซึ่งดำเนินธุรกิจอยู่แล้ว • ช่วยขยายกิจกรรมที่ทำได้สำเร็จแล้ว • แก้ไขปัญหาให้ธุรกิจที่มีปัญหา เช่น จ้างมืออาชีพมาช่วย เป็นต้น • ถ้าจำเป็นต้องปิดกิจการ หาวิธีซึ่งช่วยลดการขาดทุน • ปั้นนักธุรกิจในอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ • คัดและสร้างนักธุรกิจมืออาชีพ • สนับสนุนการฝึกอบรม • หาพี่เลี้ยงมาช่วย <footer>

  23. อุปกรณ์เสริม • โครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสม • เทคโนโลยี ที่ทันสมัย • ระบบการคมนาคม ติดต่อ สื่อสาร เพื่อเชื่อมต่อตลาดต่าง ๆ • ระบบกฎหมาย พิธีการต่าง ๆ • นโยบายที่สนับสนุนและส่งเสริมการรวมตัว • ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และ ในพื้นที่ต่าง ๆ • เจ้าหน้าที่ซึ่งมีความสามรถ <footer>

  24. ขอบคุณครับ <footer>

More Related