1 / 38

Postpartum Hemorrhage

Postpartum Hemorrhage. นพ.ธเนศ พัฒนะวิริยะศิริกุล รพ.ปากท่อ 30 เมษายน 2553. Definition of PPH. blood loss greater than 500 mL during a vaginal delivery or greater than 1,000 mL with a cesarean delivery. Definition of PPH. ประเมินปริมาณเลือดออกทางช่องคลอดอย่างถูกต้องเป็นสิ่งที่ยาก

toril
Download Presentation

Postpartum Hemorrhage

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Postpartum Hemorrhage นพ.ธเนศ พัฒนะวิริยะศิริกุล รพ.ปากท่อ 30เมษายน 2553

  2. Definition of PPH • blood loss greater than 500 mL during a vaginal delivery or greater than 1,000 mL with a cesarean delivery

  3. Definition of PPH • ประเมินปริมาณเลือดออกทางช่องคลอดอย่างถูกต้องเป็นสิ่งที่ยาก • ส่วนใหญ่ประเมินต่ำกว่าความเป็นจริงร้อยละ 50

  4. Definition of PPH • เกณฑ์วินิจฉัยที่เหมาะสมทางคลินิกได้แก่ • ภาวะที่มีเลือดออกทางช่องคลอดปริมาณมากหลังสิ้นสุดระยะที่สามของการคลอดจนทำให้ผู้ป่วยมีอาการของการสูญเสียเลือด • อาการของการสูญเสียเลือด ได้แก่ • วิงเวียน หน้ามืด เป็นลม • อาการแสดงของการสูญเสียเลือด ได้แก่ • ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตลดลง ปริมาณปัสสาวะน้อยลง

  5. อาการทางคลินิกที่สัมพันธ์กับการสูญเสียเลือดภาวะตกเลือดหลังคลอดอาการทางคลินิกที่สัมพันธ์กับการสูญเสียเลือดภาวะตกเลือดหลังคลอด

  6. Postpartum hemorrhage • Early postpartum hemorrhage (<24 hours post delivery) • Late postpartum hemorrhage (>24 hours to 6 weeks post delivery)

  7. Early postpartum hemorrhage (<24 hours postdelivery) • Uterine atony (Tone) • Retained placenta (Tissue) • Genital tract trauma (Trauma) • Coagulopathy (Thrombosis)

  8. Late postpartum hemorrhage (>24 hours to 6 weeks postdelivery) • Infection • Retained placental fragments • Coagulopathy

  9. แนวทางในการป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอดแนวทางในการป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอด • ระยะตั้งครรภ์ • ค้นหาปัจจัยเสี่ยงและให้ความระวังหรือตื่นตัว • แก้ไขปัญหาต้นทุนเม็ดเลือดต่ำ

  10. แนวทางในการป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอดแนวทางในการป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอด • ระยะคลอด • หลีกเลี่ยงหรือรักษาปัจจัยเสี่ยง เช่น คลอดยาวนาน ติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ การให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูกนาน ๆ • เตรียมพร้อมเป็นพิเศษในรายที่มีปัจจัยเสี่ยง (ทีมแพทย์ ธนาคารเลือด) • เปิดเส้นเลือดสำหรับน้ำเกลือพร้อมไว้ (เช่น ขนาดเข็มเบอร์ 18)

  11. แนวทางในการป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอดแนวทางในการป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอด • ระยะที่สามของการคลอด • Active management • Oxytocin • Early cord clamping • Controlled cord traction

  12. ระยะที่สามของการคลอด • ให้ oxytocin หลังคลอดไหล่หน้า (หรือหลังคลอดเด็ก) • 10 ยูนิต IM • หรือหยดทาง IV 100-150 มล./ชม. ในน้ำเกลือ 10-20 ยูนิต/ลิตร และให้ต่อในช่วงหลังคลอด 1-2 ชั่วโมง

  13. ระยะที่สามของการคลอด • Controlled cord traction

  14. ระยะที่สามของการคลอด • ตรวจรกให้สมบูรณ์ • นวดมดลูกหลังคลอดรกตามความเหมาะสม ตรวจคลำมดลูกเช็คการแข็งตัวทุก 15 นาที ใน 2 ชั่วโมงแรก และนวดซ้ำตามความจำเป็น • เช็คช่องทางคลอด (ถ้าใช้หัตการช่วย ให้เช็คปากมดลูกด้วย)

  15. แนวทางในการรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอดแนวทางในการรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอด • ขั้นตอนที่ 1: การประเมินและรักษาขั้นต้น • ขั้นตอนที่ 2: การดูแลรักษาตามสาเหตุหลัก • ขั้นตอนที่ 3: กรณีไม่ตอบสนองต่อการรักษาเบื้องต้น • ขั้นตอนที่ 4: เลือดไม่หยุดหลังตัดมดลูก

  16. ขั้นตอนที่ 1: การประเมินและรักษาขั้นต้น • การกู้ชีพเบื้องต้น • เปิดเส้นเลือดด้วยเข็มเบอร์ใหญ่ (เช่นอย่างน้อยเบอร์ 18) / ให้น้ำเกลือ • ดมออกซิเจน • ตรวจติดตามสัญญาณชีพ และปริมาณปัสสาวะ • ใส่สายสวนปัสสาวะ • การประเมินสาเหตุ (4T’s) • การหดรัดตัวของมดลูก (tone) • การตรวจรก (tissue) • บาดเจ็บของช่องทางคลอดและแยกภาวะมดลูกแตก (trauma) • การแข็งตัวของเลือด (thrombin) • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ • CBC • การแข็งตัวของเลือด • หมู่เลือด / จองเลือด

  17. ขั้นตอนที่ 2: การดูแลรักษาตามสาเหตุหลัก • 1.การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี (Tone) • นวดคลึงมดลูก • ยาช่วยการหดรัดตัวมดลูก โดยแนะนำ oxytocin เป็นลำดับแรก และ/หรือ methylergonovine ประเมินการตอบสนองโดยเร็ว ถ้าไม่ได้ผลอาจให้ยากลุ่มพรอสตาแกลนดินส์ • Bimanual compression

  18. ขั้นตอนที่ 2: การดูแลรักษาตามสาเหตุหลัก • 2. รกไม่คลอด/คลอดไม่หมด (Tissue) • ล้วงรก • ขูดมดลูก กรณีรกไม่ครบ ทำด้วยความระมัดระวัง แนะนำให้ใช้ curette ตัวใหญ่ (หรืออาจเช็คด้วยอัลตราซาวด์พบว่ามีชิ้นเนื้อค้าง)

  19. ขั้นตอนที่ 2: การดูแลรักษาตามสาเหตุหลัก • 3. บาดเจ็บช่องทางคลอด / มดลูกปลิ้น (Trauma) • เย็บซ่อมตำแหน่งฉีกขาด อาจต้องดมยาสลบและเย็บทางช่องคลอด แต่กรณีฉีกขาดสูงถึง broard ligament จะต้องเปิดเย็บทางหน้าท้อง • มดลูกแตก มักจะต้องตัดมดลูก แต่อาจพิจารณาเย็บซ่อมได้เป็นราย ๆ ไป • ใส่มดลูกกลับคืน กรณีมดลูกปลิ้น

  20. ขั้นตอนที่ 2: การดูแลรักษาตามสาเหตุหลัก • 4. การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (Thrombin) • แก้ไข / ให้องค์ประกอบเลือดทดแทน • ปรึกษาอายุรแพทย์

  21. ขั้นตอนที่ 3: กรณีไม่ตอบสนองต่อการรักษาเบื้องต้น • 1.ขอความช่วยเหลือ • แพทย์ผู้มีประสบการณ์ /  วิสัญญีแพทย์ • ส่งตัวผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ (มีการประสานงานกับฝ่ายรับ แพทย์ควรไปพร้อมผู้ป่วย และใช้มาตรการลดการมีเลือดออกระหว่างการส่งตัว)

  22. ขั้นตอนที่ 3: กรณีไม่ตอบสนองต่อการรักษาเบื้องต้น • 2. ปฏิบัติการกู้ชีพ • ดูแลแบบผู้ป่วยหนัก (ห้องไอซียู) • ควบคุมความดันโลหิตและการแข็งตัวของเลือด • ให้เลือด / น้ำเกลือ / องค์ประกอบเลือด

  23. ขั้นตอนที่ 3: กรณีไม่ตอบสนองต่อการรักษาเบื้องต้น • 3. วิธีการหยุดเลือด3.1 ควบคุมเลือดออกเฉพาะที่ (อนุรักษ์ภาวะเจริญพันธุ์) (เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง) • เย็บผูกเส้นเลือดมดลูก / อาจร่วมกับเย็บผูกเส้นเลือดรังไข่ (แนะนำ) • B-Lynch sutures (ทางเลือก) • Uterine temponade / embolization (ทางเลือก) • เย็บผูกเส้นเลือดแดง internal iliac arteries (เฉพาะผู้มีประสบการณ์สูง) • Recombinant Factor VIIa (ทางเลือก: ข้อมูลยังมีน้อย และราคาแพงมาก) • 3.2 ตัดมดลูก (total หรือ subtotal) กรณีมีบุตรพอแล้ว หรือข้อ 3.1 ไม่ได้ผล หรือรกติด

  24. ขั้นตอนที่ 4: เลือดไม่หยุดหลังตัดมดลูก • แนะนำ: Abdominal packing / umbrella packing • ทางเลือก: Arterial embolization / Recombinant Factor VIIa (ข้อมูลมีน้อยและราคาแพง)

  25. ยาสำหรับการหดรัดตัวของมดลูก (สำหรับการรักษา PPH) • Oxytocin  • IV: 10-40 ยูนิตในน้ำเกลือ หรือ Lactated Ringer’s 1 ลิตร หยดต่อเนื่อง • IM: 10 ยูนิต • Methergin : • IM หรือ IV ช้า ๆ 0.2 มก. ซ้ำได้ทุก 2-4 ชม. หลีกเลี่ยงกรณีความดันโลหิตสูง

  26. Thank you for your attention

More Related