220 likes | 499 Views
รูป AIDS ZERO. ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙. การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำแนกตามช่องทางการติดต่อ ประเทศไทย พ.ศ. 2555 – 2559 โดยใช้ Asian Epidemic Model. คาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ 2555-2559. โดย Asian Epidemic Model (AEM).
E N D
รูป AIDS ZERO ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙
การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำแนกตามช่องทางการติดต่อ ประเทศไทย พ.ศ. 2555 – 2559 โดยใช้ Asian Epidemic Model
คาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ 2555-2559 โดย Asian Epidemic Model (AEM) 31 จังหวัดที่คาดว่าจะมีจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่รวมประมาณร้อยละ 65 ของจำนวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อรายใหม่ทั้งหมด ช่องทางการรับและถ่ายทอดเชื้อฯ 6% 41% 32% 10% 11% 62% ของจำนวนผู้ติดเชิ้อฯรายใหม่ 41% ผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ 43,040 คน
ยุทธศาสตร์ฯเอดส์ชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • จำนวน ผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ • อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มี • การเสียชีวิตเนื่องจากเอดส์ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจาก วัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาและบริการรัฐ ได้รับการแก้ไข • การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และสนองตอบต่อความจำเพาะกับเพศสภาวะ • จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิของ ผู้ติดเชื้อฯและกลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง ข. การผสมผสานและบูรณาการให้มาตรการและแผนงานปัจจุบันมีคุณภาพเข้มข้นและมีความยั่งยืน แนวคิดหลักของยุทธศาสตร์
นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง: ยุทธ ๑ - ๔ ยุทธ ๑ ยุทธ ๒ ยุทธ ๓ พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในทุกระดับ ยุทธ ๔ ยกระดับคุณภาพของมาตรการและแผนงานที่มีอยู่เดิม ให้เข้มข้นและบูรณาการ ยุทธ ๕
ยุทธศาสตร์ 5ยกระดับคุณภาพ ของมาตรการและแผนงานที่มีอยู่เดิมให้เข้มข้นและบูรณาการ • การป้องกันการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด • การป้องกันการติดเชื้อฯ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน • การส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยแบบบูรณาการ • การบริการโลหิตปลอดภัย • การรักษา การดูแล และการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ติดเชื้อฯ • การดูแลเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ • การลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ • การสื่อสารสาธารณะ
ความเห็นและข้อเสนอแนะ ของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เรื่อง วาระเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙
ผลการศึกษาของคณะทำงานการพัฒนาคุณภาพชีวิต สาธารณสุขและคุ้มครองผู้บริโภค วาระเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ เป้าหมายสำคัญ ๓ ประการ • เกิดการปฏิรูปสังคมและการเมืองที่นำไปสู่การลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรมด้านสุขภาพและลดปัญหาเอดส์ • การสร้างความมั่นคงของระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของชุมชนและตนเอง • คนทุกคนบนผืนแผ่นดินไทยมีสุขภาวะ เข้าถึงและได้รับบริการสุขภาพและสวัสดิการพื้นฐานที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานการจัดบริการที่เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ข้อเสนอด้านนโยบายการลดการติดเชื้อฯรายใหม่ข้อเสนอด้านนโยบายการลดการติดเชื้อฯรายใหม่ ๔.๑.๑ การจัดตั้งกองทุนด้านการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของประเทศ ๔.๑.๒ การส่งเสริมการนำเอานโยบายลดอันตรายจากการได้รับ-ถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจาการใช้ยาหรือสารเสพติดด้วยวิธีการฉีด (Harm Reduction) มาใช้จริง โดยการปรับปรุงนโยบายด้านยาเสพติดให้สอดคล้องและเอื้อต่อการดำเนินงานป้องกันการรับ-ถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีรวมทั้งไวรัสตับอักเสบบี และซี ๔.๑.๓ การส่งเสริมและสนับสนุนการเข้าถึงและได้รับบริการปรึกษาและตรวจเลือดโดยสมัครใจและเป็นความลับให้กับ ทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย ๔.๑.๔ โครงการถุงยางอนามัยแห่งชาติ
ข้อเสนอด้านนโยบายการลดการเสียชีวิตด้วย อาการสัมพันธ์กับเอดส์ ๔.๒.๑ รัฐบาลควรเสริมสร้างความมั่นคงของระบบสุขภาพและการมีหลักประกันสุขภาพมาตรฐานเดียว โดย • สนับสนุนยุทธศาสตร์การเข้าถึงยาถ้วนหน้าของประชากรไทย - Compulsory Licensing - TRIPS Agreement - Medical Hub - FTA, - แนวปฏิบัติเรื่องโรคเอดส์ของแพทยสภา
ข้อเสนอด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและขจัดการตีตราการเลือกปฏิบัติด้านสุขภาพข้อเสนอด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและขจัดการตีตราการเลือกปฏิบัติด้านสุขภาพ ๔.๓.๑ รัฐบาลควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรณรงค์สังคมสาธารณะ เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องสิทธิมนุษยชน ฯ ๔.๓.๒ รัฐบาลควรดำเนินการให้เกิดการปฏิรูปกฎหมาย นโยบายและระเบียบปฏิบัติให้สอดคล้องกับหลักการสิทธิมนุษยชน และรัฐธรรมนูญ
ข้อเสนอด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและขจัดการตีตราการเลือกปฏิบัติด้านสุขภาพข้อเสนอด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและขจัดการตีตราการเลือกปฏิบัติด้านสุขภาพ • การมีนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่ส่งเสริมการเข้าถึงและได้รับบริการสุขภาพของคนทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย • การตรวจเลือดโดยสมัครใจของเด็กที่มีอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี เห็นด้วยว่าเด็กและเยาวชนที่อายุต่ำกว่า ๑๘ ปี ควรสามารถตรวจเลือดโดยสมัครใจด้วยตนเองได้ ให้ กระทรวง สธ.พิจารณาข้อปฏิบัติ • การเข้าถึงสิทธิด้านเอดส์ของแรงงานข้ามชาติและบุคคลที่ไม่มีสถานะในประเทศ เห็นด้วย กระทรวง สธ. ขยายสิทธิประโยชน์กลุ่มแรงงานข้ามชาติที่ลงทะเบียบ กระทรวงแรงงาน พยายามให้แรงงานข้ามชาติลงทะเบียนได้ครอบคลุม กระทรวงมหาดไทย ดูแลกลุ่มบุคคลที่ไม่มีสถานะในประเทศ
โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการ การจัดบริการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน (ACHIEVED)
โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการการจัดบริการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน (ACHIEVED) กลุ่มประชากรเป้าหมาย ผู้ติดเชื้อฯ เยาวชน ในชุมชน โรงเรียน และสถานประกอบกิจการ CABA และ เด็กที่มีภาวะเปราะบางอื่นๆ FSW, MSM, IDU, MW, ผู้ต้องขัง (Migrant และ กลุ่มชาติพันธ์ )
โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการ การจัดบริการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน (ACHIEVED) (ความจำเพาะกับกลุ่มประชากรเป้าหมาย) เพศศึกษาในสถานศึกษา สถานประกอบกิจการ บริการ VCT, STI บริการเชิงรุก MMT การดูแลรักษา โดย โดย ภาคประชาสังคม ภาครัฐ สภาวะแวดล้อมทางนโยบาย ทัศนะของสังคม หน่วยงาน
กรอบแนวคิดโครงการ พัฒนาระบบสุขภาพ พัฒนาระบบปกป้องคุ้มครองทางสังคม, พัฒนานโยบาย เด็กที่ได้รับผลกระทบ เด็กที่อยู่ในภาวะเปราะบาง คณะทำงานเด็กในชุมชน -CAG พัฒนาระบบชุมชน
โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการ การจัดบริการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน (ACHIEVED) การติดตามงาน (Monitoring) จำนวนกลุ่มประชากรเป้าหมายเข้าถึงบริการ จำนวนอุปกรณ์ป้องกันที่กระจาย % ของเป้าหมายแต่ละไตรมาส % ของกลุ่มประชากรเป้าหมายในพื้นที่ คุณภาพของบริการ
โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการ การจัดบริการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่ กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่าง ยั่งยืน (ACHIEVED) อบจ. เทศบาล อบต. แผนและการจัดสรรทรัพยากรสำหรับงานเอดส์ในพื้นที่ จังหวัด ยุทธศาสตร์เอดส์จังหวัด บูรณาการงานเอดส์ในแผนพัฒนาจังหวัด
รูป AIDS ZERO ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙