430 likes | 703 Views
พันธกิจ(MISSION). ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล และบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยการประเมินตนเอง และการเยี่ยมสำรวจเป็นกลไกสำคัญ. วิสัยทัศน์(VISION). หน่วยบริการสุขภาพทุกแห่ง มีวัฒนธรรมคุณภาพ โดยใช้กระบวนการHA. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์. ขยายฐานของการเข้าสู่กระบวนการ HA
E N D
พันธกิจ(MISSION) ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล และบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยการประเมินตนเอง และการเยี่ยมสำรวจเป็นกลไกสำคัญ
วิสัยทัศน์(VISION) หน่วยบริการสุขภาพทุกแห่ง มีวัฒนธรรมคุณภาพ โดยใช้กระบวนการHA
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ขยายฐานของการเข้าสู่กระบวนการ HA ให้ครอบคลุมโรงพยาบาลทั้งหมด มุ่งเน้นในโรงพยาบาลที่มีความพร้อมสูง (ทัศนคติและศักยภาพ)
การให้คำปรึกษาในบันไดขั้นที่ 1(CONSULTANT) เขต12 55 / 108แห่ง
สรุปการพัฒนาคุณภาพตามบันไดขั้นที่ 1จังหวัดตรัง
สรุปการพัฒนาคุณภาพตามบันไดขั้นที่ 1จังหวัดสตูล
สรุปการพัฒนาคุณภาพตามบันไดขั้นที่ 1จังหวัดสงขลา
สรุปการพัฒนาคุณภาพตามบันไดขั้นที่ 1จังหวัดปัตตานี
สรุปการพัฒนาคุณภาพตามบันไดขั้นที่ 1จังหวัดพัทลุง
สรุปการพัฒนาคุณภาพตามบันไดขั้นที่1จังหวัดยะลาสรุปการพัฒนาคุณภาพตามบันไดขั้นที่1จังหวัดยะลา
สรุปการพัฒนาคุณภาพตามบันไดขั้นที่1จังหวัดนราธิวาสสรุปการพัฒนาคุณภาพตามบันไดขั้นที่1จังหวัดนราธิวาส
การเยี่ยมให้คำปรึกษาเข้ม(Intensive Consultation Visit: ICV) 4 / 55 แห่ง รามัน ละงู กะพ้อ หนองจิก
ขอรับการ SURVEY 1 แห่ง โรงพยาบาลละงู จ.สตูล
โรงพยาบาลที่มีแนวโน้มในการขอรับการรับรองโรงพยาบาลที่มีแนวโน้มในการขอรับการรับรอง ในปี 2546 เขต 12 รามัน กะพ้อ หนองจิก ตรัง สุไหงโกลก นราธิวาส
การเยี่ยมให้คำปรึกษาในบันไดขั้นที่ 2 เขต 12 รพช. รพท. รพศ. 20 / 40 แห่ง
ผ่านการรับรองกระบวนการคุณภาพ(CERTIFIED ACCREDITATION) ยะลาReaccreditation มกราคม 2547 หาดใหญ่Surveillance Survey กันยายน 2546
เกณฑ์การประเมิน 1. ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน... - มีความเข้าใจในแนวคิดการพัฒนา คุณภาพ - มีการใช้ประโยชน์จากกิจกรรม “หัวหน้าพาทำคุณภาพ” โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
เกณฑ์การให้คะแนน”กิจกรรมหัวหน้าพาทำคุณภาพ”คะแนนเต็ม = 45 (3x3x5)
เกณฑ์การประเมิน(ต่อ) 2. มีการทบทวนผลงาน/ความเสี่ยง/ปัญหา นำมาสู่การปฏิบัติตามระบบที่วางไว้ต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 6 เดือน มีการติดตามและตอบสนองอย่างเหมาะสม โดยประเมินผล… “กิจกรรมการทบทวน 12 กิจกรรม” มีเกณฑ์ดังนี้
เกณฑ์ประเมินผลกิจกรรมทบทวน 12 กิจกรรม
เกณฑ์ประเมินผลกิจกรรมทบทวน 12 กิจกรรม
เกณฑ์การประเมิน(ต่อ) 3. รพ.ปฏิบัติตามระบบที่วางไว้ ต่อเนื่องกัน6เดือน และมีการทบทวนอย่างสม่ำเสมอ
เกณฑ์การประเมิน(ต่อ) 4. มีสนองการติดตาม ระดับปัญหา/ อุบัติการณ์ และตอบอย่างเหมาะสม
ประเภท การเยี่ยมสำรวจ เต็มรูปแบบ Survey ให้คำปรึกษาเข้ม ICV หน่วยงาน ที่จะเข้าเยี่ยม ทุกหน่วยงาน สุ่มตัวอย่างหน่วยงาน แบบประเมินตนเอง สมบูรณ์ที่สุด เฉพาะข้อมูลที่สำคัญ 1.หลักการและเหตุผลตารางเปรียบเทียบความแตกต่าง
วัตถุประสงค์ 1.สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องแนวคิดของ HA 2.เพื่อสาธิตกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยอาศัยผลจาก CQI 3.ทบทวนความก้าวหน้าของการนำมาตรฐาน HA ไปใช้ 4.เพื่อสร้างความคุ้นเคยกับการเยี่ยมสำรวจ 5.เพื่อให้โรงพยาบาลปรับทิศทางการพัฒนาให้เหมาะสม
กลุ่มเป้าหมาย • โรงพยาบาลที่มีพื้นฐานในเรื่องการสร้างทีม การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง การทบทวนปัญหาอันนำไปสู่การแก้ไขป้องกัน • โรงพยาบาลที่ได้รับการประเมินว่ามีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพอยู่ในบันไดขั้นที่ 2
แนวทางในการเยี่ยม จุดเน้นในการเยี่ยม...ทุกครั้ง • การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ ซึ่งเน้นผู้รับผลงานเป็นศูนย์กลาง • บทบาทของทีมนำระดับต่างๆ • การทำงานเป็นทีม
แนวทางในการเยี่ยม จุดเน้นในการเยี่ยม...ครั้งที่ 1 • การใช้ประโยชน์จากการทบทวนปัญหาใน บันไดขั้นที่ 1 • การบริหารความเสี่ยง • กิจกรรมคุณภาพ(RM/QA/CQI) การวิเคราะห์หน่วยงาน / กลุ่มผู้ป่วยสำคัญ
แนวทางในการเยี่ยม จุดเน้นในการเยี่ยม...ครั้งที่ 2 • การใช้แบบประเมินตนเอง • กิจกรรมคุณภาพ(RM/QA/CQI) (มาจากการประเมินการปฏิบัติตามข้อกำหนด HA)
แนวทางในการเยี่ยม จุดเน้นในการเยี่ยม...ครั้งต่อไป • การติดตามผลลัพธ์การพัฒนา • การเชื่อมโยงระบบงาน • สิ่งที่เป็นโอกาสพัฒนา ตามที่ปรึกษาได้ให้ข้อเสนอแนะไว้
เช้า ทีมผู้บริหารระดับสูง ทีมผู้ประสานงาน ให้คุ้นเคย แลกเปลี่ยนความคาดหวัง รับทราบประเด็นที่รพ.ให้ความสำคัญ ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยต่างๆ เยี่ยมสำรวจหน่วยงาน(observe&interview) กระตุ้นให้เห็นโอกาสพัฒนา บ่าย แพทย์ แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ทีมนำระดับกลาง ทีมนำทางคลินิก สัมภาษณ์ทีมที่ดูแลระบบงานสำคัญ ผู้บริหารระดับสูง สรุปประเด็นให้รับทราบ ร่วมวางแผนในขั้นต่อไป กำหนดการเยี่ยม
โรงพยาบาลต้องเตรียมตัวอย่างไรก่อน ICV 1. โรงพยาบาลแจ้งรายชื่อ ผู้ที่จะทำหน้าที่รับผิดชอบหลักเรื่องคุณภาพ ให้พรพ.ได้ทราบ 2. โรงพยาบาลเตรียม facilitator ประมาณ 5-10 คน (ผ่านการอบรมหลักสูตรเส้นทางสู่โรงพยาบาลคุณภาพ)
โรงพยาบาลต้องเตรียมตัวอย่างไรก่อน ICV 3. ผู้บริหารและผู้รับผิดชอบหลักเรื่องคุณภาพ ร่วมกันวิเคราะห์และประเมินตนเอง ตามแนวทางของพรพ. 4. โรงพยาบาลจัดเตรียมเอกสารให้กับ ที่ปรึกษา
เอกสาร การเยี่ยมครั้งที่ 1 • HOSPITAL PROFILE 2001 • โครงสร้างองค์กรปกติ และโครงสร้างองค์กรคุณภาพ • ผลลัพธ์จากการพัฒนาคุณภาพในบันไดขั้นที่ 1 • สรุปกิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่สำคัญ (แบบประเมินตนเองบางส่วน)
เอกสาร การเยี่ยมครั้งที่ 2 และครั้งต่อๆ ไป • แบบประเมินตนเองที่เกี่ยวข้องกับการเยี่ยมให้คำปรึกษา ครั้งนั้นๆ • ระดับโรงพยาบาลบาล • ระดับทีมนำทางคลินิก • ระดับหน่วยงาน • สรุปความก้าวหน้าในการพัฒนา ตามข้อเสนอแนะของที่ปรึกษาครั้งก่อน • ผลการติดตามเครื่องชี้วัด
ผลลัพธ์ของการเยี่ยม • สรุปรายงานการเยี่ยมให้คำปรึกษา โดยเน้นโอกาสพัฒนาเชิงระบบที่เป็นเรื่องสำคัญ • แผนการดำเนินงาน • ข้อเสนอให้เชิญที่ปรึกษามาให้คำปรึกษาเฉพาะด้าน • การติดตามการเยี่ยมให้คำปรึกษาซ้ำ • การเยี่ยมสำรวจเพื่อการรับรองคุณภาพ • ในกรณีที่รพ.ปฎิบัติตามข้อกำหนดในบันไดขั้นที่ 2 ครบถ้วนจะมีการนำเสนอให้พรพ.พิจารณามอบกิตติกรรมประกาศ
เกณฑ์การตัดสินใจ • การให้กิตติกรรมประกาศบันไดขั้นที่ 1 • ทีมมีความเข้าใจในแนวคิดการพัฒนาคุณภาพ • มีการปฏิบัติตามมาตรฐานการป้องกันความเสี่ยงที่สำคัญ มีการติดตามระดับปัญหา/อุบัติการณ์และตอบสนองอย่างเหมาะสม • มีการทบทวนปัญหาและความเสี่ยง นำมาสู่การวางระบบงานเพื่อป้องกันปัญหาและมีการปฎิบัติอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 6 เดือน
เกณฑ์การตัดสินใจ • การให้กิตติกรรมประกาศบันไดขั้นที่ 2 • สามารถปฏิบัติตามเกณฑ์ในบันไดขั้นที่ 1 • มีความเข้าใจในแบบประเมินตนเองเพื่อหาโอกาสและประเมินผลพัฒนา ตอบได้ตรงประเด็น ครอบคลุมและกระชับ • มีการติดตามและใช้ประโยชน์จากเครื่องชี้วัด ทุกหน่วยงานและระบบงาน • มีการเชื่อมโยงระบบงานและกิจกรรมคุณภาพอย่างเหมาะสม
เกณฑ์การตัดสินใจ • การเสนอขอเยี่ยมสำรวจเพื่อการรับรอง • สามารถปฏิบัติตามเกณฑ์ในบันไดขั้นที่ 2 • มีการนำมาตรฐานของ HA ไปใช้อย่างครบถ้วน • เครื่องชี้วัดสำคัญอยู่ในระดับที่มีแนวโน้มที่ดีขึ้น