1 / 48

บทที่ 6 รี มันน์อินทิกรัล (The Riemann Integral)

บทที่ 6 รี มันน์อินทิกรัล (The Riemann Integral). 6.1 การอินทิเกรตได้ของรีมันน์ (Riemann Integrability). บทนิยาม 6.1.1 ให้ [ a, b ] เป็นช่วงปิดใดๆ และ P = { x 0 , x 1 , x 2 , …, x n } เป็นเซตของจุดบน [ a, b ] โดยที่ a = x 0 < x 1 < x 2 < … < x n = b

vila
Download Presentation

บทที่ 6 รี มันน์อินทิกรัล (The Riemann Integral)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6 รีมันน์อินทิกรัล (The Riemann Integral)

  2. 6.1 การอินทิเกรตได้ของรีมันน์ (Riemann Integrability) บทนิยาม 6.1.1ให้ [ a, b ] เป็นช่วงปิดใดๆ และ P = { x0, x1, x2, …, xn } เป็นเซตของจุดบน [ a, b ] โดยที่ a = x0 < x1 < x2 < … < xn = b จะเรียก P ว่าเป็น ผลแบ่งกั้น (partition) ของ [ a, b ]

  3. จุดในผลแบ่งกั้น P แบ่งช่วง [ a, b ] ออกเป็นช่วงย่อย n ช่วง คือ [x0, x1], [x1, x2], …, [xn–1, xn] โดยที่ = [ a, b ] และ [xi–1, xi]  [xj–1, xj] =  , i  jดังรูป 6.1.1 a = x0 x1 x2 xk–1 xk xn–1 xn= b ผลแบ่งกั้นอันหนึ่งของ [a, b]

  4. บทนิยาม 6.1.2ให้ f : [a, b]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขตบน [ a, b ] และ P = { x0, x1, x2, …, xn } เป็นผลแบ่งกั้นบนของ [ a, b ] สำหรับ k = 1, 2, 3, …, n ให้ mk = g.l.b.{ f(x) | x[xk–1, xk] } Mk = l.u.b.{ f(x) | x[xk–1, xk] }

  5. บทนิยาม 6.1.3ให้ f : [a, b]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขตบน [a, b] และ P = { x0, x1, x2, …, xn } เป็นผลแบ่งกั้นบนของ [ a, b ] ผลบวกล่าง(lower sum)ของ f ที่มี P เป็นผลแบ่งกั้นแทนด้วย L( P; f ) เมื่อ L( P; f ) = (xk – xk–1)

  6. ผลบวกบน (upper sum) ของ f ที่มี P เป็นผลแบ่งกั้นแทนด้วย U( P; f ) เมื่อ (xk – xk–1) U( P; f ) = ผลบวกล่าง L( P; f ) ผลบวกบน U( P; f )

  7. บทตั้ง 6.1.4ถ้า f : [a, b]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขตบน [ a, b ] และ P เป็นผลแบ่งกั้นใดๆของ [ a, b ] แล้ว L( P; f )  U( P; f ) การพิสูจน์ให้ P = { x0, x1, x2, …, xn } เป็นผลแบ่งกั้นของ [ a, b ] mk = g.l.b.{ f(x) | x[xk–1, xk] สำหรับ k = 1, 2, 3, …, n }  l.u.b.{ f(x) | x[xk–1, xk] สำหรับ k = 1, 2, 3, …, n } = Mk ดังนั้น mk  Mkสำหรับ k = 1, 2, 3, …, n

  8. L( P; f ) = (xk – xk–1) (xk – xk–1)  = U( P; f ) 

  9. บทนิยาม 6.1.5ให้ P, Q เป็นผลแบ่งกั้นของ [ a, b ] ที่ P  Qแล้วจะเรียก Q ว่า ผลแบ่งกั้นที่ละเอียด(refinement)ของ P บทตั้ง 6.1.6ให้ f : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขตบนช่วงปิด [ a, b ] P เป็นผลแบ่งกั้นของ [ a, b ] และ Q เป็นผลแบ่งกั้นที่ละเอียดของ P แล้ว (1) L( P; f )  L( Q; f ) (2) U( Q; f )  U( P; f )

  10. การพิสูจน์ให้ P = { x0, x1, x2, …, xn } เป็นผลแบ่งกั้นของ [ a, b ] P = P{ z }โดยที่ xk–1 < z < xk ดังนั้น P = { x0, x1, x2, …, xk–1, z, xk, …, xn } Pเป็นผลแบ่งกั้นที่ละเอียดของ P (1) ให้ mk = g.l.b.{ f(x) | x[xk–1, z] } mk = g.l.b.{ f(x) | x[z, x k] } ดังนั้น mk  mkและ mk  mk

  11. L( P; f ) = m1(x1–x0)+m2(x2–x1)+ …+mk(xk–xk–1)+ …+mn(xn–xn–1) = m1(x1–x0)+m2(x2–x1)+ …+mk(z–xk–1)+mk(xk–z)+ …+mn(xn–xn–1)  m1(x1–x0)+m2(x2–x1)+ …+mk(z–xk–1)+mk(xk–z)+ …+mn(xn–xn–1) = L( P; f ) L( P; f )  L( P; f )เมื่อ Pมีสมาชิกเพิ่ม 1 ตัว จาก P ในช่วงที่ k ถ้า Q เป็นผลแบ่งกั้นที่ละเอียดใดๆของ P ดังนั้น Q = P{ z1, z2, z3, ..., zi } ซึ่ง xj–1 < zi < xj , ij = 1, 2, 3, ..., n สามารถแสดงการแบ่งช่วงที่ ziเป็นสมาชิกได้ในทำนองเดียวกันดังข้างต้นและย่อมได้ว่า L( P; f )  L( Q; f ) (2) ให้ผู้อ่านพิสูจน์เป็นแบบฝึกหัด 

  12. บทตั้ง 6.1.7ให้ f : [a, b]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขตบน [ a, b ] ถ้า P1, P2เป็นผลแบ่งกั้นใดๆของ [ a, b ] แล้ว L( P1; f )  U( P2; f ) การพิสูจน์ให้ Q = P1P2 ดังนั้น Q เป็นผลแบ่งกั้นของ [ a, b ] ซึ่งเป็นผลแบ่งกั้นที่ละเอียดของ P1, P2 จากบทตั้ง 6.1.4 และบทตั้ง 6.1.6 จึงได้ว่า L( P1; f )  L( Q; f )  U( Q; f )  U( P2; f ) 

  13. อินทิกรัลบน และอินทิกรัลล่าง (Upper and Lower Integrals) ให้ f : [a, b]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขตบน [ a, b ] ถ้า P เป็นผลแบ่งกั้นใดๆของ [ a, b ] สามารถคำนวณหาค่า U( P; f ) และ L( P; f )หรืออาจกล่าวได้ว่า แต่ละผลแบ่งกั้น P ให้ค่าจำนวนจริง 2 จำนวนให้ [a, b]เป็นหมู่ (collection) ของผลแบ่งกั้นทั้งหมดบน [ a, b ] [a, b]จึงกำหนดเซตได้ 2 เซต คือ เซตของผลบวกบน { U( P; f ) | P [a, b] }และ เซตของผลบวกล่าง { L( P; f ) | P [a, b] }

  14. บทนิยาม 6.1.8ให้ f : [a, b]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขต 1) อินทิกรัลล่าง (lower integral)ของ f บน [ a, b ] แทนด้วย f(x)dx = l.u.b.{ L( P; f ) | P [a, b] } 2) อินทิกรัลบน (upper integral)ของ f บน [ a, b ] แทนด้วย f(x)dx หมายถึง จำนวนจริงซึ่ง f(x)dx หมายถึง จำนวนจริงซึ่ง f(x)dx = g.l.b.{ U( P; f ) | P[a, b] }

  15. ทฤษฎีบท 6.1.9ให้ f : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขต แล้ว f(x) dx  f(x) dx การพิสูจน์ให้ P1, P2เป็นผลแบ่งกั้นใดๆของ [ a, b ] โดยบทตั้ง 6.1.7 ได้ว่า L( P1; f )  U( P2; f )

  16. U( P2; f ) ย่อมเป็นขอบเขตบนตัวหนึ่งของ { L( P; f ) | P[a, b] } และ f(x) dx = l.u.b{ L( P; f ) | P[a, b] }  U( P2; f ) เนื่องจาก P2เป็นผลแบ่งกั้นใดๆของ [ a, b ] ดังนั้น f(x) dx เป็นขอบเขตล่างตัวหนึ่งของ { U( P; f ) | P [a, b] }และ f(x) dx g.l.b.{ U( P; f ) | P[a, b] } f(x) dx  นั่นคือ f(x) dx

  17. รีมันน์อินทิกรัล

  18. บทนิยาม 6.1.10ให้ f : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขตบน [ a, b ] แล้วจะเรียก f ว่าเป็น ฟังก์ชันที่มีรีมันน์อินทิกรัล(Riemann–integrable)บน [ a, b ] ถ้า f(x)dx = f(x)dx และเขียนแทนด้วย

  19. ตัวอย่าง 1ให้ f(x) = x , x[ 0, 1 ] ให้ Pnเป็นผลแบ่งกั้นของ [ 0, 1 ] โดยแบ่ง [ 0, 1 ] ออกเป็น n ช่วงดังนี้ Pn = { 0, , , , . . . , = 1 } เนื่องจาก f(x) = x เป็นฟังก์ชันเพิ่มที่มีขอบเขตมีค่าสูงสุด และ ค่าต่ำสุดในแต่ละช่วง พิจารณาช่วงที่ k [ , ] จะได้ว่า Mk = และ mk = และความกว้างของช่วง k คือ xk – xk–1 = - = ทุก k = 1, 2, 3, ..., n

  20. ดังนั้น U( Pn; f ) = = + + + . . . + = ( 1+2+3+…+n ) =  = ( 1+ )

  21. และ L( Pn; f ) = + + + . . . + = 0 + = ( 0+1+2+3+…+n–1 ) =  = ( 1 - )

  22. เนื่องจาก { Pn | n } เป็นเซตย่อยของ { P | P[0, 1] } ดังนั้น • = l.u.b.{ L( Pn; f ) | n } • l.u.b.{ L( P; f ) | P[0, 1] } = f(x)dx f(x)dx = g.l.b.{ U( P; f ) | P[0, 1] } g.l.b.{ U( Pn; f ) | n } = และ

  23. f(x)dx  ทำให้ f(x)dx  f(x)dx = f(x)dx = นั่นคือ f(x) = x เป็นฟังก์ชันที่มีรีมันน์อินทิกรัลบน [ 0, 1 

  24. ทฤษฎีบท 6.1.11 เงื่อนไขรีมันน์(Riemann’s Criterion for Integrability) ให้ f : [a, b]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขตบน [ a, b ] แล้ว f จะเป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอินทิกรัลได้บน [ a, b ] ก็ต่อเมื่อแต่ละ  > 0 จะมีผลแบ่งกั้น Pของ [ a, b ]ซึ่ง U( P; f ) – L( P; f ) < 

  25. การพิสูจน์ถ้า f เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอินทิกรัลได้บน [ a, b ] ดังนั้น f(x)dx f(x)dx = ให้ > 0 , เนื่องจาก f(x)dx = l.u.b.{ L( P; f ) | P[a, b] } จะมี P1เป็นผลแบ่งกั้นบน [ a, b ] ที่ f(x)dx – < L( P1; f ) เนื่องจาก f(x)dx = g.l.b.{ U( P; f ) | P[a, b] }

  26. จะมี P2เป็นผลแบ่งกั้นบน [ a, b ] ที่ U( P2; f ) < f(x)dx + ให้ P= P1P2ดังนั้น Pเป็นผลแบ่งกั้นที่ละเอียดของ P1, P2 ผลที่ตามมา จากบทตั้ง 6.1.6 และบทตั้ง 6.1.4 จึงได้ f(x)dx – < L( P1; f )  L( P; f ) และ U( P; f )  U( P2; f ) < f(x)dx + ดังนั้น U( P; f ) – L( P; f ) < ( f(x)dx + ) –( ) f(x)dx –

  27. นั่นคือ U( P; f ) – L( P; f )<  ในทางกลับกันให้ P เป็นผลแบ่งกั้นใดๆบน [ a, b ] f(x)dx ( หรือ – L( P; f )  f(x)dx  – L( P; f ) ) และ f(x)dx U( P; f ) f(x)dx – ดังนั้น f(x)dx < U( P; f ) – L( P; f ) เนื่องจากกำหนดให้แต่ละ > 0จะมีผลแบ่งกั้น Pของ [ a, b ] ที่ U( P; f ) – L( P; f ) < 

  28. ดังนั้น f(x)dx U( P; f ) – L( P; f ) <  f(x)dx – โดยทฤษฎีบท 6.1.9 f(x)dx  f(x)dx  f(x)dx - 0  f(x)dx เนื่องจากเป็นจำนวนบวกใดๆจะได้ f(x)dx - f(x)dx = 0 f(x)dx = f(x)dx นั่นคือ f  R(x)บน [ a, b ] 

  29. ตัวอย่าง 3กำหนด f : [ 0, 1 ]โดยที่ f(x) = x2 , x[ 0, 1 ] ให้  > 0 และ P = { x0, x1, x2, …, xn } เป็นผลแบ่งกั้นใดๆบน [ 0, 1 ] ซึ่ง max { xk – xk–1 | k = 1, 2, 3, …, n } < เนื่องจาก f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม และต่อเนื่องดังนั้น Mk = f(xk) = xk2จึงได้ U( P; f ) = ( xk – xk–1) และ mk = f(xk–1) = x2k–1 จึงได้ L( P; f ) = ( xk – xk–1)

  30. U( P; f ) – L( P; f ) = [ ( xk – xk–1)] – [ ( xk – xk–1)] = ( xk – xk–1)( xk – xk–1) = ( xk – xk–1) <  =  = นั่นคือ f  R(x) บน [ 0, 1 ] 

  31. 6.2 สมบัติของรีมันน์อินทิกรัล ทฤษฎีบท 6.2.1ให้ f, g : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอินทิกรัลได้บน [ a, b ] ถ้า kแล้วฟังก์ชัน kf และ f + g เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอินทิกรัลได้บน [ a, b ] และ (1) (x)dx = k (x)dx (2) = (x)dx + (x)dx

  32. บทแทรก 6.2.2ให้ f : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันที่หาอินทิกรัล บน [ a, b ] และkiสำหรับ i = 1, 2, 3, ..., n แล้ว เป็นฟังก์ชันที่หาอินทิกรัลบน [ a, b ] และ (x)dx (x)dx =

  33. ทฤษฎีบท 6.2.3ให้ f : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัลบน [ a, b ] ถ้า f(x)  0สำหรับทุก x[ a, b]แล้ว (x)dx  0 บทแทรก 6.2.4ให้ f, g : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันที่หาอินทิกรัลบน [ a, b ] ได้ ถ้า f(x)  g(x)สำหรับทุก x[ a, b ]แล้ว (x)dx  (x)dx

  34. บทตั้ง 6.2.5ถ้า f : [ a, b]เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัล บน [ a, b ] และ a < c < b แล้ว f(x)dx f(x)dx = f(x)dx +

  35. ทฤษฎีบท 6.2.6ให้ f : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขตบน [ a, b ] และa < c < b จะได้ว่า f มีอินทิกรัลบน [ a, b ] ก็ต่อเมื่อ f มีอินทิกรัลบน [ a, c ] และ [ c, b ] โดยที่ (x)dx = (x)dx + (x)dx

  36. ทฤษฎีบท 6.2.7ให้ f : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขตบน [ a, b ] แล้ว ข้อความ (1) – (3) สมมูลกัน (1) ฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัลบน [ a, b ] (2) สำหรับแต่ละ  > 0จะมีผลแบ่งกั้น P = { x0, x1, x2, ..., xn } ของ [ a, b ] ซึ่ง (xk – xk–1) < 

  37. (3) สำหรับแต่ละ  > 0จะมีผลแบ่งกั้น P = { x0, x1, x2, ..., xn } ของ [ a, b ] ซึ่ง (xk – xk–1) <  เมื่อ wk = l.u.b. { f(x) – f(y) | x, y[ xk–1, xk ] } สำหรับ k = 1, 2, 3, ..., n

  38. ทฤษฎีบท 6.2.8ให้ f : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันทางเดียวบน [ a, b ] แล้ว f เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัลบน [ a , b ] ทฤษฎีบท 6.2.9ให้ f : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบน [ a, b ] แล้วฟังก์ชัน fมีอินทิกรัลบน [ a, b ] ทฤษฎีบท 6.2.10ให้ I = [ a, b ] และ J = [ c, d ] ถ้า f เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัลบน I และ g เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบน J โดยที่ f( I )  Jแล้วฟังก์ชันประกอบ gf : I เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัลบน I

  39. บทแทรก 6.2.11ให้ f : [ a, b ]เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัลบน [ a, b ] แล้ว | f | เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัลบน [ a, b ]

  40. 6.3 ทฤษฎีบทหลักมูลของแคลคูลัส (The Fundamental Theorem of Calculus) บทตั้ง 6.3.1ถ้าให้ f : [ a, b ] เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัลบน [ a, b ] และf(x) K สำหรับทุกๆ x[ a, b ]แล้ว  f(x)dx  K(b – a) (x)dx

  41. ทฤษฎีบท 6.3.2ถ้า f : [ a, b ] เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัลบน [ a, b ] แล้ว Fa : [ a, b ] นิยามโดย Fa(x) = (t)dt , a  x  b เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องแบบเอกรูปบน [ a, b ]

  42. ทฤษฎีบท 6.3.3ถ้า f : [ a, b ] เป็นฟังก์ชันที่มีอินทิกรัลบน [ a, b ] และ Fa : [ a, b ] โดยที่ Fa(x) = (t)dt สำหรับ a  x  b ถ้า f เป็น ฟังก์ชันต่อเนื่องแล้ว Faเป็นฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์ที่จุด x0และ Fa(x0) = f(x0) สำหรับ x0 [ a, b ]

  43. ทฤษฎีบท 6.3.4 ทฤษฎีบทหลักมูลแคลคูลัส (Fundamental Theorem of Integral Calculus) ให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบน [ a, b ] แล้ว F : [ a, b ] สอดคล้องกับ F(x) – F(a) = (t)dt ก็ต่อเมื่อ F(x) = f(x)สำหรับทุก x  [ a, b ]

  44. บทแทรก 6.3.5ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบน [ a, b ] และ F(x) = f(x) สำหรับ x  [ a, b ]แล้ว (x)dx = F(b) – F(a)

  45. ทฤษฎีบท 6.3.6 การอินทิเกรตโดยวิธีแยกส่วน(Integration by Parts) ให้ f, g : [ a, b ] เป็นฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์ถ้า fและ gเป็นฟังก์ชันต่อเนื่องแล้ว (x)dx = [ f(b)g(b) – f(a)g(a) ] – (x)dx

  46. ทฤษฎีบท 6.3.7ให้ J = [ ,  ]และ  : J เป็นฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์และเป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบน J ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบน I โดยที่ I = (J)แล้ว =

More Related