3.49k likes | 9.03k Views
แนะนำวิธีการเขียน ผลงาน เพื่อ เลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร. โดย ผ.ศ . ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์ กรรมการสภาวิศวกรและประธานคณะอนุกรรมการ ทดสอบความรู้ ความ ชำนาญ การ ประกอบวิชาชีพ ระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า. คำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร. 1. กรอก รายละเอียดในแบบดังต่อไปนี้
E N D
แนะนำวิธีการเขียนผลงานแนะนำวิธีการเขียนผลงาน เพื่อเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร โดย ผ.ศ. ประสิทธิ์พิทยพัฒน์ กรรมการสภาวิศวกรและประธานคณะอนุกรรมการทดสอบความรู้ความชำนาญการประกอบวิชาชีพ ระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
คำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกรคำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร 1 กรอกรายละเอียดในแบบดังต่อไปนี้ 1.1 แบบคำขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (เลื่อนระดับ) (โปรดใส่เครื่องหมาย √ หน้าข้อที่อยู่ที่ท่านต้องการให้จัดส่งเอกสาร) 1.2 แบบประวัติการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
คำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกรคำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร 1.3แบบแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับสามัญวิศวกร ไม่น้อยกว่าห้าปี โดยมีผู้รับรองผลงานเป็น วิศวกรระดับวุฒิวิศวกร ในสาขาและแขนงเดียวกันกับผู้ยื่น คำขอพร้อมระบุที่อยู่ปัจจุบัน สถานที่ทำงาน หมายเลขโทรศัพท์ที่สามารถติดต่อได้ และความเกี่ยวข้องโดยจัดพิมพ์ขนาด A4 1.4เมื่อกรอกแบบในข้อ 1.1 – 1.3 เรียบร้อยแล้ว ให้จัดทำ สำเนาเพิ่มอีก3 ชุด (ไม่รวมต้นฉบับ)
คำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกรคำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร จัดทำรายงานสรุปรายละเอียดโครงการที่มีผลงานดีเด่น 2 ตั้งแต่ 2 โครงการ ไม่เกิน 5 โครงการ จัดพิมพ์ขนาด A 4 โครงการละ 4 เล่ม โดยมีรายละเอียดโครงการ ดังนี้ 2.1 ชื่อโครงการ 2.2 วัตถุประสงค์โครงการ 2.3 ขั้นตอนในการดำเนินงานและการนำความรู้เชิง วิศวกรรมมาประยุกต์ใช้ในงาน
คำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกรคำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร 2.4 ระยะเวลาปฏิบัติงาน 2.5 ปัญหาและอุปสรรคพร้อมการแก้ไขปัญหา 2.6 ผลสำเร็จในขั้นสุดท้ายของโครงการและจุดเด่นของโครงการ
คำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกรคำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร 3 เอกสารประกอบ 3.1 สำเนาใบอนุญาตของผู้ยื่นคำขอและผู้รับรองผลงานลงนามรับรองสำเนาถูกต้อง ( โดยจัดทำสำเนาเพิ่มอีก 3 ชุด) 3.2 รูปถ่ายหน้าตรงไม่สวมหมวกและแว่นดำ ขนาด 1 นิ้ว ถ่ายไว้ไม่เกิน1 ปี จำนวน 2 รูป 3.3 รายละเอียดโครงการตามข้อ 2.
คำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกรคำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร ขั้นตอนการพิจารณา 4 4.1 เจ้าหน้าที่สภาวิศวกรตรวจรับคำขอรับใบอนุญาต (เลื่อนระดับ) พร้อมเอกสารประกอบ 4.2 คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาผลงานและปริมาณ พร้อมทั้งทดสอบความรู้ในประสบการณ์ และความสามารถในการประกอบวิชาชีพและสอบสัมภาษณ์ (สอบสัมภาษณ์ครั้งแรกไม่ผ่านมีสิทธิ์สอบครั้งที่ 2 ภายใน 30 วัน หลังประกาศผล)
คำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกรคำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร 4.3 คณะกรรมการสภาวิศวกรพิจารณา 4.4 สำนักงานสภาวิศวกรแจ้งผลการพิจารณาตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ
คำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกรคำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร เอกสารประกอบ - แบบคำขอใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ระดับสามัญวิศวกร - แบบคำขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ระดับวุฒิวิศวกร - แบบประวัติการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม - แบบแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม - ตัวอย่างผลงานเพื่อขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร ( Download , Download กรณีลดความละเอียดรูปภาพประกอบ)
คำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกรคำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร การขอเลื่อนระดับวิศวกรควบคุม จากระดับ“สามัญวิศวกร” เป็น“วุฒิวิศวกร” - ประกอบอาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับสามัญวิศวกร หลังจากได้ใบอนุญาตไม่น้อยกว่า 5 ปี - ยื่นแสดงผลงานและปริมาณงาน ( ควรอย่างน้อย 10 งาน) ที่รับรองโดยวิศวกรระดับ“วุฒิวิศวกร” สาขาเดียวกัน
คำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกรคำแนะนำในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร - แสดงรายละเอียดงานดีเด่น 2 ถึง 5 งาน ( ควรอย่างน้อย 3 งาน ) - ส่ง CD แสดงรูปภาพ หรือจัดทำเป็น Powerpoint ของงานที่ทำ เช่น Single Line Diagrams เป็นต้น
ตัวอย่างการแสดงผลงาน ประวัติการประกอบอาชีพ
ตัวอย่างการแสดงผลงาน สำเนาของผู้รับรอง
ตัวอย่างการแสดงผลงาน หนังสือรับรอง ของ ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เขียนที่ บริษัท มัลติซิสเต็ม เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด วันที่ 24 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551 โดยหนังสือฉบับนี้ ข้าพเจ้า นายประสิทธิ์ พิทยพัฒน์ อายุ 66ปี เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย อยู่บ้านเลขที่ 60/6 ซอย อินทามระ 40 ถนน สุทธิสารวินิจฉัย แขวง ดินแดง เขต ดินแดง จังหวัด กรุงเทพมหานคร ที่ทำงาน 60/6 ซอย อินทามระ 40 ถนน สุทธิสารวินิจฉัย แขวง ดินแดง เขต ดินแดง จังหวัด กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 6917840-1 ได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ประเภท วุฒิวิศวกร สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า แขนง ไฟฟ้ากำลัง ตามใบอนุญาต เลขทะเบียวฟก. 723 ขอรับรองแบบบัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานเพื่อประกอบการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวศวกร ของนาย.......... สามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า แขนงไฟฟ้ากำลัง ตามใบอนุญาตทะเบียน สฟก..... เพื่อเป็นหลักฐาน ข้าพเจ้าได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ ลงชื่อ ……………………………วุฒิวิศวกร ( นาย ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์ ) ผู้รับรอง
ตัวอย่างการแสดงผลงาน ผลงานในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเพื่อขอเลื่อนระดับ • บัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการประกอบวิชาชีพ • วิศวกรรมควบคุมเพื่อขอเลื่อนประเภทวิศวกรรม • ของนายAเลขที่ทะเบียน สฟก..................
ตัวอย่างการแสดงผลงาน ผลงานในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเพื่อขอเลื่อนระดับ • บัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการประกอบวิชาชีพ • วิศวกรรมควบคุมเพื่อขอเลื่อนประเภทวิศวกรรมของนาย B • เลขที่ทะเบียน สฟก...........................
การเขียนผลงานดีเด่น 1. ต้องเป็นงาน ระดับสามัญวิศวกร 2. 2 - 5 งาน ควรมีอย่างน้อย 3 งาน 3. ผลงานที่แสดงต้อง มีความหลากหลาย เช่น เป็นโรงงานผลิตภัณฑ์ต่างกันมาก เป็นอาคารต่างกัน เช่น Office , Hospital , Condo etc 4. งานออกแบบ ต้องมีชื่อในแบบ หรือมีหลักฐานรับรอง
การเขียนผลงานดีเด่น (ต่อ) 5. งานควบคุมการติดตั้ง ต้องมีชื่อ หรือมีหลักฐานแสดงการควบคุมงานจนงานแล้วเสร็จ แสดงอุปสรรค ปัญหา และแนวทางแก้ไข 6. งาน Turn – Key หรืองานโรงงาน แสดงขอบเขตความรับผิดชอบ เช่น การออกแบบเบื้องต้น การออกแบบ และติดตั้งการควบคุมงาน • แสดงอุปสรรค ปัญหา และแนวทางแก้ไข
การเขียนผลงานดีเด่น (ต่อ) 7. แต่ละงานต้องเขียนและแสดง การใช้ความรู้ ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าเป็นหลัก เช่น ถ้าเป็นงานด้านการออกแบบ ต้องแสดงการคำนวณ ได้มาซึ่ง - ขนาดหม้อแปลงไฟฟ้า - พิกัดต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง nterrupting Capacity ของตู้ MDB, CB - แรงดันตก - การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง เป็นต้น
ตัวอย่างผลงานดีเด่น รายงานสรุปรายละเอียดการออกแบบ โครงการ อาคารสำนักงาน A เพื่อใช้ประกอบการยื่นขอเลื่อนระดับเป็นวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมแขนงไฟฟ้ากำลัง จัดทำโดย นาย Aสฟก................
ตัวอย่างผลงานดีเด่น สารบัญ • ชื่อโครงการ • วัตถุประสงค์โครงการ • รายละเอียดโครงการ • ขั้นตอนดำเนินงานและนำความรู้เชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ใช้ในงาน • ระยะเวลาปฏิบัติงาน • ปัญหาและอุปสรรคพร้อมการแก้ไขปัญหา • ผลสำเร็จในขั้นตอนสุดท้ายของโครงการและจุดเด่นของโครงการ
ตัวอย่างผลงานดีเด่น 1. ชื่อโครงการ : อาคารสำนักงาน A 2. วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพื่อใช้อาคารเป็นสำนักงานเช่า 2. เพื่อใช้เป็นสถานที่ห้องจัดเลี้ยง 3. เพื่อใช้อาคารเป็นห้องประชุมย่อย 4. เพื่อใช้อาคารเป็นร้านค้า ร้านอาหาร และที่จอดรถยนต์
ตัวอย่างผลงานดีเด่น 3. รายละเอียดโครงการ 1. เจ้าของโครงการ บริษัท B 2. ที่ตั้งโครงการ กรุงเทพมหานคร 3. วิศวกรรมระบบ ไฟฟ้ากำลังและสื่อสาร 4. ผู้ออกแบบงานสถาปัตย์ บริษัท C 5. ผู้ออกแบบงานโครงสร้าง บริษัท D
ตัวอย่างผลงานดีเด่น 6. ผู้ออกแบบงานระบบ บริษัท E 7. ผู้บริหารโครงการ บริษัท F 8. ผู้รับเหมางานโครงสร้าง บริษัท F 9. ผู้รับเหมางานระบบ บริษัท G 10.งบประมาณก่อสร้างงานระบบไฟฟ้าและเครื่องกล 550,000,000 บาท ( Shell & Core )
ตัวอย่างผลงานดีเด่น 11. ลักษณะโครงการ เป็นอาคาร คสล 35 ชั้น และชั้นใต้ดิน 3 ชั้น โดยมีพื้นที่ก่อสร้างรวมประมาณ 85,531 ตารางเมตร ดังรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ชั้นใต้ดิน B1-B3 เป็นพื้นที่จอดรถจำนวน 516 คัน รวม 21,546 ตารางเมตร 2. ชั้นที่ 1-3 เป็นพื้นที่ขยายส่วนโรงแรม, ร้านค้ารวม 8,595 ตารางเมตร 3. ชั้นที่ 4 เป็นพื้นที่ห้องเครื่องงานระบบไฟฟ้าและเครื่องกล รวม 1,850 ตารางเมตร 4. ชั้นที่ 5-33 เป็นพื้นที่สำนักงานเช่ารวม 52,360 ตารางเมตร 5. ชั้นที่ 34 เป็นพื้นที่ห้องเครื่องงานระบบไฟฟ้าและเครื่องกล รวม 118 ตารางเมตร
ตัวอย่างผลงานดีเด่น 4. ขั้นตอนการดำเนินงานและการนำความรู้เชิงวิศวกรรมประยุกต์ใช้ในงาน 4.1 ขั้นตอนการดำเนินงาน 1 ) ร่วมประชุมกับสถาปนิกและเจ้าของโครงการเพื่อรับข้อมูลเบื้องต้นและความต้องการของโครงการ 2 ) ประมาณการขั้นต้นของปริมาณการใช้ไฟฟ้าของอาคารโดยแยกโหลดออกเป็น 2 ส่วน คือโหลดส่วนกลาง เช่น ระบบสุขาภิบาล แสงสว่างส่วนกลาง ระบบดับเพลิง ระบบลิฟต์และโหลดส่วนพื้นที่สำนักงานเช่า โดยใช้ค่าประมาณการ
ตัวอย่างผลงานดีเด่น ต่อพื้นที่ตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย (ว.ส.ท.) เพื่อประมาณการขนาด ของระบบไฟฟ้าที่ต้องการ เพื่อกำหนดขนาดของเครื่องไฟฟ้าหลักเบื้องต้นและให้ข้อมูลแก่สถาปนิกเพื่อใชัในการจัดเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง • 3 ) จากนั้นทำการคำนวณออกแบบขั้นละเอียดระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบไฟฟ้ากำลัง เต้ารับทั่วไป ระบบไฟฟ้าสำหรับเครื่องมอเตอร์ไฟฟ้าระบบปั๊มน้ำ ระบบดับเพลิง ลิฟต์ และเครื่องปรับอากาศ โดยมีรายละเอียดดังนี้
ตัวอย่างผลงานดีเด่น - การแบ่งประเภทโหลด เพื่อพิจารณาจัดโหลดในแต่ละวงจร ย่อย - การคำนวณกระแสโหลดในแต่ละวงจรย่อย เพื่อเลือก อุปกรณ์ป้องกัน และขนาดชนิดของสายวงจรย่อย- คำนวณกระแสโหลดรวมของวงจรย่อย โดยใช้ดีมานด์แฟกเตอร์ตามข้อกำหนด - การเลือกชนิดขนาดของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของ สายป้อน - การเลือกชนิดขนาดของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของ สายเมน
ตัวอย่างผลงานดีเด่น - การเลือกชนิดขนาดของสายนิวตรอนและสายดิน - การพิจารณาขนดของระบบ และการรับไฟฟ้าจากการ ไฟฟ้าฯ - การเตรียมพื้นที่ติดตั้งของห้องไฟฟ้าย่อยประจำชั้น ห้องไฟฟ้าเมนและห้องมิเตอร์ ของการไฟฟ้า ตาม มาตรฐาน และข้อกำหนดการไฟฟ้าฯ และข้อกำหนดวิธีการ จ่ายไฟของการไฟฟ้าฯ
ตัวอย่างผลงานดีเด่น 4 ) จัดเตรียมข้อกำหนดการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า (Installation Specification) ให้เป็นไปตามกฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ ของการไฟฟ้านครหลวง มาตรฐานการ ติดตั้งไฟฟ้าตาม NEC (National Electrical Code) และ มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย (ว.ส.ท. ) เช่น - การติดตั้งท่อและสายไฟ - การต่อลงดินของวัสดุและอุปกรณ์
ตัวอย่างผลงานดีเด่น - ที่ว่างในการปฏิบัติงานของตู้ไฟฟ้า และหม้อแปลงฟ้า - การติดตั้งหม้อแปลงในอาคาร เช่น การระบายอากาศ - แรงดันตกคร่อมที่ปลายสาย - ตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกัน เช่น เซอร์กิจเบรกเกอร์มีค่า Interrupting Withstand Current ทนค่า Short Circuit ที่เกิดขึ้นในวงจรได้
ตัวอย่างผลงานดีเด่น 5 ) จัดเตรียมข้อกำหนดวัสดุอุปกรณ์ (Equipment Specification ) ให้เป็นไปตามมาตรฐานไทย ( มอก. ) และมาตรฐาน IEC เป็นหลักยกเว้นอุปกรณ์ดังกล่าวไม่มีมาตรฐานไทยและมาตรฐาน IEC ก็อาจพิจารณามาตรฐานประจำชาติของประเทศผู้ผลิตวัสดุและ อุปกรณ์มาพิจารณา เช่น ANSI, BS และ DIN เป็นต้น
ตัวอย่างผลงานดีเด่น 4.2 การนำความรู้เชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ใช้งาน 1 ) แนวทางในการออกแบบ จะคำนึงถึงประเด็นหลัก ๆ เพื่อให้ระบบจ่ายไฟของโครงการมีความสมบูรณ์ดังนี้ - มีความปลอดภัย(Safety) อย่างสูงต่อผู้ปฏิบัติงาน ต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าและต่อสถานที่ - มีความน่าเชื่อถือของระบบ (Reliability) สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่องและทำงานได้แน่นอนไม่เกิดปัญหา
ตัวอย่างผลงานดีเด่น - มีความมั่นคง ( Stability ) มีกำลังไฟฟ้าสำรองเพียงพอในกรณีมีปัญหาที่ส่วนใดส่วนหนึ่ง - มีความยืดหยุ่น ( Flexibility ) สามารถขยายได้ในอนาคต หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ง่าย - อุปกรณ์ที่ใช้กันแพร่หลาย ( Availability ) โดยกำหนดคุณสมบัติของอุปกรณ์ใช้งานให้เป็นผลิตภัณฑ์มาตรฐาน เพื่อทำให้การจัดซื้ออุปกรณ์และอะไหล่ได้ง่าย - ประหยัด ( Economy ) โดยค่าก่อสร้างอยู่ในงบประมาณของเจ้าของโครงการตลอดจนค่าบำรุงรักษาที่ต่ำ และต้องคำนึงถึงความปลอดภัย และให้เพียงพอกับการใช้งาน แต่ไม่ Over Design
ตัวอย่างผลงานดีเด่น 2 ) การออกแบบระบบไฟฟ้ากำลังและสื่อสาร โครงการจะกำหนดให้มี ระบบดังต่อไปนี้ - ระบบไฟฟ้าแรงสูง - ระบบไฟฟ้าแรงต่ำ - ระบบไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน - สถานีเปลี่ยนแรงดันไฟฟ้า 24 kV / 415/ 240 V
ตัวอย่างผลงานดีเด่น - ระบบกระจายไฟฟ้ากำลัง - ระบบเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน - ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง - ระบบป้องกันฟ้าผ่า - ระบบสายดิน - ระบบสัญณาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ - ระบบโทรศัพท์ โดยมีรายละเอียดการออกแบบดังนี้