1 / 29

ระบบสารสนเทศ 563 251 พื้นฐานสาธารณสุข ( SLIDE TIME 90 MIN. )

ระบบสารสนเทศ 563 251 พื้นฐานสาธารณสุข ( SLIDE TIME 90 MIN. ). ผศ.ดนิตา ภาณุจรัส. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม. 1. บอกความสำคัญของเนื้อหาหัวข้อนี้ กับหัวข้ออื่นในวิชานี้ 2 .บอกความหมายของสารสนเทศ 3 .บอกประเภทของสารสนเทศ 4 .บอกประโยชน์ของสารสนเทศแต่ละชนิด 5 .อธิบายการสืบค้นสารสนเทศ.

yamin
Download Presentation

ระบบสารสนเทศ 563 251 พื้นฐานสาธารณสุข ( SLIDE TIME 90 MIN. )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบสารสนเทศ563 251 พื้นฐานสาธารณสุข(SLIDE TIME 90 MIN.) ผศ.ดนิตา ภาณุจรัส

  2. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1.บอกความสำคัญของเนื้อหาหัวข้อนี้ กับหัวข้ออื่นในวิชานี้ 2.บอกความหมายของสารสนเทศ 3.บอกประเภทของสารสนเทศ 4.บอกประโยชน์ของสารสนเทศแต่ละชนิด 5.อธิบายการสืบค้นสารสนเทศ

  3. REFERENCES 1.แหล่งสารนิเทศทางสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์, 2533 2.สารนิเทศลักษณะพิเศษ, 2533 3.How to Find Information in Sciences & Technology, 1986 4.วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร,2541 5.American Journal of Health-System Pharmacy, 1999 6.British Medical Journal, 2000

  4. สารสนเทศ (Information) • สารสนเทศ หมายถึง ความรู้ เรื่องราว ข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งมีการบันทึก และ จัดตามหลักวิชาการ เพื่อเผยแพร่ และ เพื่อประโยชน์ ในการพัฒนา ทั้งบุคคล และ สังคม

  5. ทานไข่วันละ 1 ฟอง ไม่อันตราย

  6. สารสนเทศสุขภาพ (Health Information) • สารสนเทศสุขภาพ หมายถึง ความรู้ เรื่องราว ข้อมูล ข่าวสาร ที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของประชาชนซึ่งเป็นข้อมูลที่เป็นเนื้อหาความรู้จากตำรา หรือมาจากงานวิจัย • ตัวอย่าง สารสนเทศ เช่น หนังสือ วารสาร นิตยสาร ไมโครฟิล์มไมโครฟิชซีดีรอม ข้อมูลออนไลน์

  7. วารสารวิชาการ • ตีพิมพ์เป็นระยะสม่ำเสมอ • นำเสนอผลงานค้นคว้าวิจัยใหม่หรือความเห็นทางวิชาการใหม่ๆ • เนื้อหาสาระในวารสาร • บทความบรรณาธิการ • บทความปฐมนิพนธ์ หรือ นิพนธ์ต้นฉบับ(ORIGINAL ARTICLE) • บทความปริทัศน์(REVIEWS)

  8. วารสารวิชาการ แบ่งเป็น • วารสารผ่านการทบทวน(PEER-REVIEWED JOURNAL)ตรวจสอบบทความโดยผู้รู้ซึ่งเป็นบุคคลภายนอก ทั่วไปมีจำนวน 3 คน บทความใช้เวลานานนับเดือน หรืออาจถึงปีนับจากวันที่ บรรณาธิการได้รับบทความ • วารสารทางวิชาการและวิชาชีพที่ไม่มีการตรวจรับคุณภาพเรียกโดยทั่วไปว่า นิตยสารวิชาชีพ(PROFESSINAL MAGAZINE)

  9. ประเภท และ ประโยชน์ของสารสนเทศ

  10. ประเภทของสารสนเทศแบ่งเป็น 3 ประเภท 1.แหล่งของสารสนเทศที่เป็นเนื้อหาความรู้ ระดับตติยภูมิ(TERTIARY DATA SOURCES) 2.แหล่งของสารสนเทศที่เป็นงานวิจัยระดับปฐมภูมิ (PRIMARY DATA SOURCES) 3.แหล่งของสารสนเทศที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระดับทุติยภูมิ (SECONDARY DATA SOURCES)

  11. ประโยชน์ของสารสนเทศ ฐานข้อมูลสารสนเทศของคณะกรรมการอาหารและยา มีประโยชน์คือ • 1.ผู้บริหารจัดการ ใช้ประกอบการตัดสินใจ • 2.ผู้ให้บริการ เสนอข้อมูลให้ผู้บริโภค • 3.ผู้ประกอบการ เตรียมผลิต หรือนำเข้า และวางจำหน่ายอย่าง เป็นทางการ • 4.ผู้บริโภค ทราบข่าวสารเกี่ยวกับ สิ่งบริโภค และสามารถตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่สงสัย • 5.นักวิชาการ และประชาชนทั่วไป สามารถใช้ข้อมูลที่ต้องการ

  12. การค้นหาคำตอบอย่างมีระบบการค้นหาคำตอบอย่างมีระบบ • 1.ค้นสารสนเทศที่เป็นเนื้อหาความรู้ ระดับตติยภูมิ (TERTIARY DATA SEARCHING) • 2.กำหนดคำสำคัญ และ คำพ้อง(KEYWORD AND SYNONYM FINDING) • 3.ค้นสารสนเทศที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระดับทุติยภูมิ(SECONDARY DATA SEARCHING) ช่วยค้นบทความปริทัศน์ • 4.ค้นสารสนเทศที่เป็นงานวิจัย ระดับปฐมภูมิ(PRIMARY DATA SEARCHING) • 5.DRUG COMPANY DATA SEARCHING • 6.SEARCH ENGINE SEARCHING เช่น GOOGLE • 7.EXPERT COUNSELLING สอบถามผู้เชี่ยวชาญ

  13. การสืบค้นสารสนเทศที่เป็นเนื้อหาความรู้ ระดับตติยภูมิ (TERTIARY DATA SEARCHING)

  14. 1.ค้นสารสนเทศที่เป็นเนื้อหาความรู้1.ค้นสารสนเทศที่เป็นเนื้อหาความรู้ • การค้น พจนานุกรม สารานุกรม • มักเป็นเอกสารอ้างอิง ห้ามนำออกจากห้องสมุด • การค้น มักค้นเรียงตามตัวอักษร • ค้นจาก หนังสือเล่มสุดท้ายของชุด กรณีที่เป็นหนังสือชุด เช่น สารานุกรม

  15. 1.การค้นสารสนเทศระดับตติยภูมิ1.การค้นสารสนเทศระดับตติยภูมิ • 1.1.พจนานุกรม,สารานุกรม • Dorland's illustrated medical dictionary • Britanica encyclopedia • ใช้กำหนดความหมายของหัวข้อเรื่องเพื่อทราบขอบเขตของข้อมูลหาคำบัญญัติศัพท์ภาษาไทย ชื่อพ้อง • 1.2.หนังสือ หรือ ตำรา

  16. แหล่งสารสนเทศประเภทหนังสือหรือ ตำรา • 1. หนังสือนำความรู้จากการวิจัย มารวบรวม ประเมินวิจารณ์ เรียบเรียงเขียนเป็นบท แบบกระทัดรัด อ่านง่ายกว่างานวิจัยฉบับจริง • 2.ให้ความรู้ ครอบคลุมเนื้อหากว้าง นำเสนอในรูปแบบที่กระทัดรัดหรือใช้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล • 3.เรียงลำดับเนื้อหาเป็นบทมีแบบแผน มีดรรชนีค้นหาสะดวกรวดเร็ว • 4.มีราคาถูก • 5.มีส่วนอ้างอิง (บรรณานุกรม หรือREFERENCES) ซึ่งอาจเป็นงานวิจัย หรือสิ่งพิมพ์ประเภทอื่น

  17. การค้นหนังสือ หรือ ตำราจาก ดรรชนีท้ายเล่มของหนังสือ ดรรชนีหัวเรื่องภาษาไทย กล้วยน้ำว้า 69, 70 กล้วยอ่อง 69 กลัยโคไซด์ 15 กลาก 40, 44, 58

  18. การค้นหนังสือ หรือ ตำรา หรือ หนังสืออ้างอิงจาก ตู้บัตรรายการ

  19. LIBRARY OF CONGRESS Q SCIENCES • QD CHEMISTRY • QK BOTANY • QMHUMAN ANATOMY R MEDICINE • RA PUBLIC ASPECTS OF MEDICINE • RB PATHOLOGY • RM THERAPEUTIC PHARMACOLOGY • RM139PRESCRIPTION WRITING

  20. สารสนเทศทางยา ในตำรา ระดับตติยภูมิ มีตัวอย่างดังนี้ • 1.ชื่อสามัญของยา : Martindale - AHFS - Drug Fact & comparision - MIMS • 2.ประโยชน์ หรือ ข้อบ่งใช้ในการรักษา : Martindale - AHFS - Drug Fact & comparision - MIMS • 3.ขนาดยา และ วิธีใช้ยา : Martindale - AHFS - Drug Fact & comparision - MIMS • 4.อาการข้างเคียง ข้อห้ามใช้ และข้อควรระวัง :AHFS - Drug Fact & comparision - MIMS • 5.ประสิทธิภาพของยา :- Pharmacotherapy -Applied Therapeutic • 6.วิธีการเก็บรักษายา : Drug Fact & comparision

  21. 1.3.ข้อมูลสุขภาพใน WEBSITES • WEBSITES ที่เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพและการแพทย์ มี 2 ประเภท ได้แก่ • 1.MEDICAL JOURNAL WEBSITES ซึ่งจะมี PEER REVIEWED ช่วยประเมินบทความ เช่น www.bmj.com • 2.COMMERCIAL WEBSITES

  22. การประเมินข้อมูลสุขภาพใน WEBSITESWWW.DRUGDIGEST.GOV และ WWW.HHS.GOV

  23. MEDLINE PLUS- www.medlineplus.gov • From NLM (National Library of Medicine) • Drug & supplement information (หนังสือUSPDI)

  24. MEDICINE INFORMATIONhttp://www.rxlist.com • ประโยชน์ของยา • การดูดซึมยา ระดับยาในเลือด การสลายตัวของยา การออกฤทธิ์ของยา • ข้อควรระวังในการใช้ยา • ข่าวจาก FDA (www.fda.gov ของสหรัฐอเมริกา) ยาลดน้ำมูก ทานร่วมกับยาแก้ไอ ได้หรือไม่

  25. Food and Drug Administration

  26. CANCER INFORMATION • National Cancer Institute http://www.cancer.gov • American Cancer Society http://www.cancer.org • University of Pennsylvania’s Oncolink http://www.oncolink.org ญาติคนหนึ่งเป็นมะเร็งปากมดลูก ระยะ 2 หมายถึงอะไร ท่านควรจะได้รับการรักษาอย่างไร?”

  27. Cancer InformationNational Cancer Institute

  28. LAB TEST INFORMATIONhttp://www.labtestsonline.org ค่า cholesterol 210 หมายถึงอะไร ?

  29. การค้นหาคำตอบอย่างมีระบบการค้นหาคำตอบอย่างมีระบบ • 2.กำหนดคำสำคัญ และ คำพ้อง (KEYWORD AND SYNONYM FINDING) ใช้ค้นสารสนเทศที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง • 2.1)Keyword ที่เหมาะสม เช่น Child, Children, Childrens หรือ Child* บางครั้งอาจเป็นชื่อโรค เช่น HeadacheและHeadมีความหมายที่ต่างกัน ใช้คำเชื่อม AND, OR หรือ ‘NOT’ LOGIC มีความเสี่ยงในการตัดข้ออ้างอิงที่เกี่ยวข้องออกไป เช่น Amphetamine in adults มี Key concept terms คือ AmphetamineANDadult ใช้ประเภทกลุ่มของเนื้อเรื่องเช่นแอมเฟตามีนสารกระตุ้นประสาท (Nerve Stimulation) • 2.2)การกำหนดคำพ้องในหนังสือ MARTINDALE

More Related